Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 กลวิธีและนวตกรรมสาธารณสุข, นางสาวยีฮัน ยิงทา เลขที่ 32 - Coggle…
บทที่ 2 กลวิธีและนวตกรรมสาธารณสุข
ความหมาย แนวคิดของนวัตกรรมสาธารณสุข
นวตักรรมสาธารณสุข คือ สิ่งที่เกิดใหม่ในด้านสาธารณสุขหรือกจิกรรม การกระทำในแนวทางใหม่ๆในด้านสาธารณสุข
ประเภทของนวัตกรรมได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ
นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation) เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวางแผน การบริหารจัดการ
นวัตกรรมการบริการ (Service model innovation) เช่น การพัฒนาระบบการให้บริการในคลินิก แบบ One stop service
นวัตกรรมผลผลิต (Product innovation) เช่น ยา เวชภัณฑ์เทคโนโลยีใหม่ๆ
แนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
การดำเนินการนวัตกรรมในพื้นที่ต่างๆ จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาวการณ์ที่แตกต่างกันของพื้นที่
การสาธารณสุขของประเทศได้ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้แนวคิดสาธารณสุขมูลฐาน
นวัตกรรมต่างๆ อาจต้องใช้นวัตกรรมที่เเตกต่างเพื่อความเหมาะสม
การสาธารณสุขมูลฐานเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชน ที่เน้นหนักกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
นวัตกรรมที่หลากหลายเปรียบเสมือนเครื่องมือนานาชนิดที่ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ แต่ละนวัตกรรมมีเนื้อหาและคุณลักษณะเด่นเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป สามารถใช้ให้การศึกษาแก่ประชาชน
การเน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ขาดการร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหาและร่วมทำกันในช่วงแรก
การเกิดและคิดค้นนวัตกรรมต่างๆ อย่างมากมาย เนื่องจากขาดความเข้าใจและไม่สามารถจัดความสัมพันธ์ระหว่างงานเดิมกับนวัตกรรมต่างๆ
การดำเนินการที่จะทำให้เกิดการปรับตัวได้อย่างยืดหยุ่นตามยุทธศาสตร์ทางเลือกเพื่อการพัฒนา
ความตื่นตัวในการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ทำให้ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆได้เรียนรู้ประสบการณ์การ ทำงานในชุมชน เห็นปัญหา และเข้าใจสภาพของชุมชนมากขึ้น เพื่อการแก้ปัญหานั้นๆ
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
มีความเข้าใจความสัมพันธ์ของปัญหาอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ
มีความสามารถในการบริหารจัดการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งสามารถใช้ปฏิบัติ ในระดับที่ตนรับผิดชอบ
มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้คาแนะนำ แก่บุคลากรในระดับเดียวกันและระดับที่ต่ำกว่า รวมทั้งประชาชนทั่วไป
มีความเชื่อว่า ประชาชนมีความสามารถในการพึ่งพาตนเองทางสาธารณสุขมูลฐานได้ในระดับหนึ่ง เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเป็นผู้อำนวยความสะดวก และให้คำปรึกษาในงานที่ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจ
มีความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่เป็นความต้องการของกลุ่มทั้งหมด และการใช้ข้อมูล
มีความสามารถและพอใจการปฏิบัติงานในลักษณะผสมผสานและการทางานเป็นทีม ทั้งในหน่วยงานเดียวกันและร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
มีความรู้ความสามารถตัดสินใจ แก้ปัญหา โดยใช้สติปัญญา และความคิดอย่างรอบคอบ ทาให้ผลการ แก้ปัญหาต่างๆ ของผู้รับบริการประสบความสำเร็จดียิ่งขึ้น
มีความเข้าใจ เห็นความจำเป็นและความสำคัญของนวัตกรรม
มีความสามารถศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง ช่วยตนเอง และพึ่งตนเองได้
มีความสามารถที่จะปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนได้เป็นอย่างดี
มีความสามารถกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนนั้น เป็นผู้นำของเขาได้เอง ซึ่งจะช่วยในการดำเนินงาน กิจกรรมต่างๆสะดวก รวดเร็ว และคล่องตัวดียิ่งขึ้น
มีค่านิยมที่ให้ความสำคัญต่อชุมชน ไม่น้อยกว่าตนเอง มีความรักในผู้อื่น
มีทักษะในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลทั่วไป
มีทัศนคติที่ดีต่อชุมชน คำนึงถึงความต้องการของชุมชน เห็นความสำคัญและพร้อมที่จะตอบสนองความต้องการของชุมชน
มีความสามารถในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ทางด้านนวัตกรรมสาธารณสุข
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care = PHC)
คุณภาพชีวิต (Quality of Life)
สุขภาพดีถ้วนหน้า ปี2543 (Health For All By The Year 2000
การประกาศนโยบาย และเป้าหมาย “เมืองไทยแข็งแรง” (Health Thailand)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางกาย (Physical Health)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางจิตใจ (Mental Health)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางสังคม (Social Health) และเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางปัญญา / จิตวิญญาณ (Spiritual Health)
ปัญหา อุปสรรค ของนวัตกรรม
1 ขาดการเตรียมการที่ดี
ขาดขวัญและกำลังใจ
เจ้าหน้าที่ดำเนินการไม่ดี
เจ้าหน้าที่มีงานประจำมากอยู่แล้ว
งบประมาณ และการสนับสนุนมีจำกัด ไม่สมดุลกับกิจกรรม
เจ้าหน้าที่ไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง
งานนวัตกรรมส่วนใหญ่จะเป็นงานเร่งรัด ต้องทำให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ทำให้เจ้าหน้าที่มุ่งแต่ ผลงาน
ปัญหา อุปสรรค ที่เกิดจากประชาชน ผู้มีส่วนร่วม
ประชาชนขาดศรัทธา
ประชาชนบางพื้นที่ยังยากจน
ประชาชนขาดการเตรียมการที่ดีทำให้ไม่รู้ไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดในนวัตกรรมสาธารณสุข
นวัตกรรมบางอย่างต้องเกี่ยวข้องกับราชการ
นางสาวยีฮัน ยิงทา เลขที่ 32