Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.4 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญห…
บทที่ 3.4 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหาฆ่าตัวตาย
ภาวะซึมเศร้า
สาเหตุ
แนวคิดด้านกลไกทางจิตใจ
ความเจ็บปวดที่เกิดจากความสูญเสีย (loss)
ในสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง
แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย
เกิดจาการลดน้อยลงของสารจำพวกไบโอจินิก อะมีนส์ (biogenic amines)
ในทางระบบ ประสาทส่วนกลาง
การพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำ เนื่องจากเคยมีประวัติการทำร้ายร่างกายตนเองก่อนหน้า
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
ขาดทักษะการเผชิญปัญหา เนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและไร้ความหมาย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ไม่มีพฤติกรรมทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และสามารถรักษาสุขอนามัยของตนเองได้
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าลดลง โดยสังเกตจากสีหน้าผู้ป่วยว่า สีหน้าแจ่มใสมากขึ้น
สร้างเป้าหมายในชีวิต และสามารถปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายนั้นได้
การประเมินภาวะซึมเศร้า
ประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย และกิจวัตรประจำวัน
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ประเมินความสมดุลระหว่างการทำกิจกรรม
ประเมินบุคลิกภาพ
กิจกรรมการพยาบาล
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
การดูแลเรื่องการให้ได้รับสารน้ำสารอาหารเพียงพอต่อร่างกาย
การส่งเสริมการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย และกิจวัตรประจำวัน
การส่งเสริมการทำกิจกรรม และการพักผ่อนตามความต้องการของร่างกายให้เกิดความสมดุล
การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่ผู้ป่วย
การสอน และฝกึทักษะการเผชิญปัญหา เพื่อปรบัปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ป่วยเขม้แข็งมาก ขึ้น
การป้องกันการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
สอน และให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผปู้่วยที่ มีความสอดคล้องกับผู้ป่วย
การลดภาวะซึมเศร้า
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
รู้สึกว่า ตนเองไร้คุณค่า หงุดหงิดง่าย มีความคิดเชื่องช้าลง
มีพฤติกรรมที่สื่อในการทำลายข้าวของ และทำร้ายตนเอง
มีอาการเศร้า รู้สึกอยากจะร้องไห้ หรือร้องไห้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (mild depression/blue mood)
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (moderate depression/neurotic depression)
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง (severe depression/Psychotic depression)
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลง
น้ำหนักตัวลดลง ดูซูบซีด ท้องผูก
นอนไม่หลับเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์
ระดับฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง เช่น ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
ความหมาย
ภาวะซึมเศร้า หมายถึง การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้า สร้อย ท้อแท้ สิ้นหวัง และมองโลกในแง่ร้าย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการสูญเสียเป็นสำคัญ
การฆ่าตัวตาย
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม
(threatened suicide)
บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆ ที่จะทำร้ายตนเอง แต่ยังกล้า ๆ กลัว ๆ
การฆ่าตัวตายสำเร็จ
(completed suicide / committed suicide)
บุคคลกลุ่มนี้จะมีอารมณ์ซึมเศร้าชัดเจน
มีความมุ่งมั่นที่จะฆ่าตัวตายให้สำเร็จ
การพยายามฆ่าตัวตาย
(attempted suicide)
บุคคลจะพยายามทำร้ายตนเองด้วยวิธีการต่างๆ
สาเหตุ
ด้านจิตใจ
ด้านจิตวิเคราะห์
เป็นการทำงานของจิตใต้สำนึก ในการตอบสนองต่อแรงขับของความก้าวร้าวที่หันเขา้สู่ ตนเอง
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด
เป็นผลมาจากการเรียนรู้ต่อสิ่งเร้าที่เป็นอันตราย
ด้านสังคม
สัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร หรือผู้เลี้ยงดูกับทารก
ด้านชีวภาพ
เกิดอารมณ์ซึมเศร้าในน้ำไขสันหลังมีระดับต่ำลง ได้แก่
5-Hydroxyindoleacetic acid (5-HIAA)
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย (medical factors)
ด้านจิตวิญญาณ
บุคคลที่ขาดที่พึ่ง หรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ที่ช่วยเชื่อมโยงความคิด ความรู้สึกทุกข์ทรมานทางใจ กับพลังชีวิตจากภายใน จะทำให้บุคคลรู้สึกโดดเดี่ยวและสิ้นหวัง
ความหมาย
การที่บุคคลมีความคิดอยากทำ ร้ายตนเอง และพยายามทำให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆ ที่ไม่ใช่อุบัติเหต
การพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะในการเผชิญปัญหาอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์
เพื่อฝึกทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง
และเคยมีประวัติการทำร้ายตนเอง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้ว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกทางจิตในการแก้ไข ปัญหาไม่เหมาะสม
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
กระตุ้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย หรือการฆ่าตัวตายซ้ำ
กิจกรรมการพยาบาล
ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
การส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
ผู้ป่วย
การเฝ้าระวังหรือป้องกันการฆ่าตัวตาย
ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาในชีวิตอย่าง
สร้างสรรค์
การประเมินพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
อาการและอาการแสดง เช่น มีภาวะซึมเศร้า
ระดับรุนแรง
มีความตั้งใจ/มีการวางแผนการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน
ข้อมลูส่วนบุคคลต่างๆ ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
ความพร้อมในด้านแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยรสู้ึกมีคุณค่าในตนเองเพมิ่มากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถตั้งเป้าหมายในชีวิต และมีความหวังในชีวิต
มากยิ่งขึ้น และมีพลังในการปฏิบัติตนให้บรรลผุลตามเป้าหมาย
ผู้ป่วยสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้มากยงิ่ขึ้น และสามารถแสวงหา
แหล่งสนบัสนุน ช่วยเหลือที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนได้
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย
นางสาวพาทินธิดา ขำหินตั้ง รหัส 180101128