Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.1 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเ…
บทที่ 3.1 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
ความวิตกกังวล
ชนิดของความวิตกกังวล
2) ความวิตกกังวลเฉียบพลัน (acute anxiety) เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มี เหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคาม ทำให้บุคคลเกิดความวิตกกังวล
3) ความวิตกกังวลเรื้อรัง (chronic anxiety) เป็นความรู้สึกหวาดหวั่นไม่เป็นสุขขาดความ มั่นคงปลอดภัยที่แฝงอยู่ในตัวของบุคคลตลอดเวลา
1) ความวิตกกังวลปกติ (normal anxiety) เป็นความวิตกกังวลที่พบได้ทั่วไปเป็นแรงผลักดัน ให้ชีวิตประสบความสำเร็จ
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
บุคคลจะมีความรู้สึกหวาดหวั่น กลัว ขาดความ เชื่อมั่นในตนเอง มองตนเองไร้ค่า สับสนก้าวร้าว เศร้าเสียใจง่าย ร้องไห้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
บุคคลจะขาดความสนใจ ขาดความคิดริเริ่ม รู้สึกว่า ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ มีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพกับผู้อื่น
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบทางเดินอาหาร จะมีอาการกลืนลำบาก ปากแห้ง ท้องอืด
ระบบทางเดินปสัสาวะและระบบสบืพันธุ์ จะมอีาการปัสสาวะบ่อย ความรสู้ึกทางเพศลดลง
ระบบทางเดินหายใจ จะมีอาการสะอกี หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมีภาวะหัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ
ระบบประสาท จะมีอาการปวดศีรษะจากความเครียด ตาพร่า หูอื้อ
ระบบกระดูกและกล้ามเนอื้ จะมอีาการเกรง็ของกล้ามเนื้อ ปวดเมื่อย
การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา
ความคิด ความจำลดลง คิดไม่ออก ครุ่นคิด หมกมุ่น ไม่ค่อยมีสมาธิ การพูดติดขัด
สาเหตุ
ด้านจิตสังคม
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
ด้านสังคม
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เชื่อว่าความวิตกกังวลเกิดจาก สัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ด
ด้านชีวภาพ
ด้านชีวเคมี (biochemical factors)
ด้านการเจ็บป่วย (medical factors)
ด้านกายภาพของระบบประสาท (neuroanatomical factors)
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย ซึ่งบอกไม่ได้ชัดเจน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและพฤติกรรม
การพยาบาล
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อปรับบุคลิกภาพและการใช้กลไทางจิตให้เหมาะสม
เพื่อขจัดความขัดแย้งและบรรเทาประสบการณ์ที่เจ็บปวดให้กับผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้และเข้าใจถึงเหตุและผลของความวิตกกังวล
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยให้กลับปกติ
ตัวอย่างการเขียนข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความผิดปกติด้านเนื่องจากวิตกกังวลในระดับรุนแรง
มีความวิตกังวลระดับปานกลางเนื่องจากรู้สึกว่าชีวิตถูกคุกคามและถูกบีบคั้นทางจิตวิญญาณ
มีความวิตกังวลระดับรุนแรงเนื่องจากคิดว่าตนเองไม่สามารถควบคุม หรือแก้ไขปัญหาได้
3) กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเพื่อปิดโอกาสให้ผปู้่วยได้ระบายความไม่สบายใจความทุกข์ใจ
1) การประเมินสภาวะความเครียด
การประเมินระดับความรุนแรงของความวิตกกังวล
การประเมินสาเหตุของความวิตกกังวลและวิธีการผชิญกับภาวะวิตกกังวล
การประเมินความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เมื่อมีกังวลเกิดขึ้น
ประเมินสมรรถภาพและองค์ประกอบในด้านอื่น ๆของผู้ป่วย เช่น รูปแบบในการ แก้ปัญหาในอดีต
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยสามารถบอกถึงความรู้สึกวิตกกังวลที่มีต่อตนเองและผู้อื่นได้
ผู้ป่วยสามารถอธิบายเชื่อมโยงผลของควมวิตกังวลที่มีตอ่ตนเองและผู้อื่นได้
ผู้ป่วยสามารถแยกแยะและประเมินระดับความวิตกกังวลของตนเองได้
ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการทเี่หมาะสมในการแก้ไขความวิตกกังวลได้
ผู้ปวยรู้สึกผ่อนคลายได้มากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถแสวงหาแหลง่สนบัสนุนช่วยเหลือทางสังคมเพื่อลดความวิตก ให้กับตนเองได้อย่างสร้างสรรค์มากขึ้น
ระดับของความวิตกกังวล (level of anxiety)
2) ความวิตกกังวลปานกลาง (moderate anxiety) +2
เมื่อมีเหตุการณ์มากระตุ้นให้เกิดความวิตกกังวล บุคคลจะมีความตื่นตัวมากขึ้น พยายาม ควบคุมตนเองมากขึ้น
3) ความวิตกกังวลรุนแรง (severe anxiety) +3
บุคคลจะมีระดับสติสัมปชัญญะลดลง สมาธิในการรับฟังปัญหาและข้อมูลต่าง ๆลดลง หมกมุ่นครุ่นคิดในรายละเอียดปลีกย่อย
1) ความวิตกกังวลต่ำ (mild anxiety) +1
เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นเป็นปกติในบุคคลทั่วไป
จะช่วยกระตุ้นให้ บุคคลตื่นตัว
4) ความวิตกกังวลท่วมท้น (panic anxiety) +4
เมื่อความวิตกกังวลที่มีไม่ได้รับการระบายออกหรือแก้ไข จะมีการสะสมความวิตก กังวลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนบุคคลไม่สามารถจะทนต่อไปได้ มีความผิดปกติของความคิด อารมณ์ และพฤติกรรม
ความเครียด
ชนิด
2) ความเครียดเรื้อรัง (chronic stress)
ความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวันและร่างกายไม่สามารถตอบสนองต่อความครียดนั้น ซึ่งบุคคล มักมีความเครียดโดยที่ไม่รู้ตัวหรือไม่มีทางหลีกเลี่ยง
1) ความเครียดฉับพลัน (acute stress)
ความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีและร่างกายก็ตอบสนองต่อความเครียดนั้นทันที่ เมื่อความเครียดหายไปร่างกายก็จะกลบัสู่ภาวะปกติ ฮอร์โมนก็จะกลับสู่ปกติ
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
ได้แก่ วิตกกังวล โกรธง่าย หงุดหงิด ซึมเศร้า ท้อแท้
การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรม
ได้แก่ ร้องไห้ กัดเล็บ ดึงผมตัวเอง รับประทานอาหารเก่ง ติดบุหรี่ สุรา
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ได้แก่ มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ มีเสียงด้งในหู ปวดตาม กล้ามเนื้อ
สาเหตุ
ภายนอก
ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น สภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ การย้าย ถิ่นฐานที่อยู่
ุภายในตัวบุคคล
ได้แก่ ภาวะสุขภาพของตนเอง เช่น ภาวะเจ็บปวยที่เผชิญอยู่ ความ พิการ
ความหมาย
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสงิ่กระตุ้น (stressor) และ บุคคลนั้นได้ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคามหรือทำให้ตนเองรู้สึกไม่มั่นคง ปลอดภัย
การพยาบาล
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
3) กิจกรรมการพยาบาล
1) การประเมินสภาวะความเครียด
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ระดับ
2) ความเครียดระดับปานกลาง (moderate stress) เป็นความเครียดในระดับปกติเกิดขี้นได้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีสิ่งคุกคามหรือ เหตุการณ์ที่ทำให้เครียด อาจรู้สึกวิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน
3) ความเครียดระดับสูง (high stress) เป็นความเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์รุนแรง สิ่งต่าง ๆ สถานการณ์หรือเหตุการณ์รอบตัวที่ แก้ใขจัดการปัญหานั้นไม่ได้ รู้สึกขัดแย้ง ปรับความรู้สึกด้วยความลำบากส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
1) ความเครียดระดับต่ำ (mild stress) เป็นความเครียดในระดับน้อยและหายไปได้ในระยะเวลาสั้น ไม่คุกคามต่อการดำเนินชีวิต
4) ความเครียดระดับรุนแรง (severe stress) เป็นความเครียดระดับสูงและเรื้อรังต่อเนื่องหรือกำลังเผชิญกับวิกฤตของชีวิต
นางสาวพาทินธิดา ขำหินตั้ง รหัส 180101128