Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง - Coggle…
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
สารน้ำ (fluid)ในร่างกาย
หน้าที่
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขับของเสียผ่านทางไต
ประเภท
น้ำภายนอกเซลล์
มีประมาณ 40 %
น้ำภายนอกเซลล์
มีประมาณ 60 %
ส่วนประกอบ
อิเลคโทรลัยท์
โปรตีน
น้ำ
กลูโตส
ไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้ำ
เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Antidiuretic hormone (ADH)
สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการกระตุ้นการหลั่ง ADH
Aldosterone
เป็นฮอร์โมนที่ท้าหน้าที่ ร่วมกับ ADH
เพื่อควบคุมน้ำในร่างกาย aldosterone
การประเมินสมดุลของเหลว
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
การสังเกตและการประเมิน
สัญญาณชีพ
ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น
ปริมาณปัสสาวะลดลงเนื่องจากมีปริมาณ
ของฮอร์โมน antidiuretic เพิ่มขึ้น
สีหน้า
แห้ง
ผิวหนังตั้งได้
ผิวหนังซีด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ
ภาวะขาดน้ำ
อาการ
หายใจลำบาก
neck vein engorged
congestive heart failure
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
ได้รับสารน ้าสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน
สาเหตุ
ได้รับยา corticosteroid
มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
การได้รับเกลือและน้ำมากเกินไป
การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพ
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า 60%
ของน้ำหนักตัว ECF มากกว่าปกติ
ภาวะน้ำเกิน
อาการ
ไม่มีแรง
ผิวหนังแห้ง
การตรวจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ้น
Na > 150mEq/L
urine sp. gr. >1.030
สาเหตุ
secondary dehydration
เกิดจากการเสียน้ำที่มีการเสียอิเลคโทรลัยท์ด้วย
primary dehydration
จะเกิดจากการได้รับไม่พอ
การพยาบาล
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
บันทึกสัญญาณชีพน้ำหนักตัวระดับความรู้สึกตัว
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะที่มีปริมาณน้ำในร่างกายน้อยกว่า
ปกติ มีความผิดปกติของโซเดียมECF น้อยกว่าปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
เกิด/เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวายเนื่องจาการสูญเสียน้ำ
กลุ่ม
ความผิดปกติของส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียน
การเสียสมดุลปริมาตรและความเข้มข้น
ภาวะเสียสมดุลอิเลคโทรลัยท์
Electrolyte
แมกนีเซียม
(magnesium, Mg)
แคลเซียม
(calcium, Ca)
โปแตสเซียม
(Potassium, K)
K (3.5-5.5 mEq/L)
K เป็นปัจจัยร่วมในการท้างานของ insulin ในการน้ำกลูโคสเข้าเซลล์
hyperkalemia
hypokalemia
การวินิจฉัย
การรักษา
อาการ
ข้อวินิจฉัย
สาเหตุ
การพยาบาล
โซเดียม(sodium, Na)