Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพถึงปัจจุบัน, จัดทำโดย, นางสาวปาลิตา นาคยอง,…
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพถึงปัจจุบัน
ฉบับที่ 1 พุธศักราช 2504 -2509
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลและสถานีอนามัยให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
มีการก่อสร้างโรงพยาบาลใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายแห่ง แต่ยังไม่เน้นหนักในส่วนภูมิภาคเท่าที่ควร
สำหรับงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และการควบคุมโรคติดต่อนั้น ได้
ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ยกเว้นในเรื่องการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์และพยาบาลในชนบทห่างไกล
ฉบับที่ 2 พุธศักราช 2510 -2514
บังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทำสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนใน พ.ศ. 2508
ฉบับที่ 3 พุธศักราช 2515 -2599
นโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2518
ฉบับที่ 4 พุธศักราช 2520 -2524
ตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐาน
ฉบับที่ 5 พุธศักราช 2525 -2529
ตั้งโรงพยาบาลครบทุกอ าเภอ ยกฐานะส านักงานผดุงครรภ์เป็นสถานีอนามัย
ฉบับที่ 6 พุธศักราช 2530 -2534
เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ฉบับที่ 7 พุธศักราช 2535 -2539
เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคน
ฉบับที่ 8 พุธศักราช 2540 -2544
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นวัตถุประสงค์หลัก
เน้นเรื่องความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพให้บริการที่มีคุณภาพ
และประสิทธิภาพ
เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านสุขภาพด้านสาธารณสุขให้สอดคล้องกับวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ต้มยำกุ้ง
ฉบับที่ 9 พุธศักราช 2545 -2549
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ ระบบสุขภาพพอเพียง
ฉบับที่ 10 พุธศักราช 2550 -2554
น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพและยึดหลักการสุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี
ฉบับที่ 11 พุธศักราช 2555 -2559
มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 12 พุธศักราช 2560 -2564
เป้าหมาย
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย
มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่ม มากขึ้นส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี ลดการตายก่อนวัยอีนควร
เพิ่ม ขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการรบริการได้อย่างสะดวก และเหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักการของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชา
ติ
1.ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
3.ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทย
การพัฒนาที่ยั่งยืน
พันธกิจ
ส่งเสริมสนับสนุนและประสานเกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐเอกชนนักวิชาการและภาคประชาสังคมในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็งรองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็งเป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดี สร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
กลไกการอภิบาลระบบสุขภาพในระดับชาติและธรรมาภิบาลไม่ชัด
เจน
มีการเพิ่ม ขึ้นของโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างรวดเร็ว
จากการเกิดและภาวการณ์ตายลดลง
รูปแบบภาวะโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อ ไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ข้อมูลข่าวสารและการวิจัยยังใช้ประโยชน์ได้ไม่เพียงพอ
ปัญหาสุขภาพ / โรคจากอุบัติเหตุ
ภัยพิบัติและภัยสุขภาพ
ปัญหาในด้านการเงิน การคลัง ความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน
การจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ ยังไม่เพียงพอ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
เสริมสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตรด้านสุขภาพโดยสร้างการศักยภาพบูรณาการองค์กรทุกภาคส่วนและเชื่อมโยงระบบสุขภาพไทย
สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพตามหลัก Health in All Policy
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรมลดความเลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
จัดทำโดย
นางสาวปาลิตา นาคยอง
เลขที่ 49 รหัส 611001402841
อ้างอิง
https: www.coggle.it/diagram/แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ-ฉบับที่12-2560-2564.