Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ Fluid &…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่
Fluid & Electrolytes imbalance
สารน้ำในร่างกาย
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิ
ให้ความชุ่มชื้น
หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
นำอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื้อเยื่อ
น้ำในร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 %
น้ำที่อยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ในหลอดเลือด
ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ในกระดูกและในช่องว่างต่าง ๆ
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
60%ของน้ำหนักตัว
โดยปริมาณจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่ กับ อายุ เพศ ปริมาณไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้ำ
ควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum)
ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นศูนย์กระหายน้ำจะตอบสนองต่อการขาดน้ำ และส่งกระแสประสาทกระตุ้นไปยังสมองใหญ่ ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Antidiuretic hormone (ADH)
ส่งเสริมการดูดน้ำกลับที่ท่อไตส่วนปลาย (Distal tubules)และท่อรวม (Collecting duct)
ทำให้จำนวนปัสสาวะ ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ น และปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
Aldosterone
ทำให้จำนวนปัสสาวะ ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ น และปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
ทำให้จำนวนปัสสาวะ ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ น และปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
การประเมินสมดุลของเหลว
การซักประวัติ
ผลตรวจทางห้องปฏบัติการ
การตรวจร่างกาย
ต้องดูว่าผู้ป่วยมีโรคหรืออาการบาดเจ็บที่ส่งผลต่อสมดุล ของเหลวหรือไม่เช่น การเป็นโรคตับ เบาหวาน ผู้ป่วยได้รับ ยาท่ีมีผลต่อระดับของเหลวในร่างกาย
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า
การขาดน้าอย่างรุนแรงจะส่งผลท้าให้ตาลึกโหล สีหน้าอ่อนระโหย เยื่อบุภายในปาก แห้ง กระหายน้า ผิวหนังซีด เย็น ผิวหนังตังได้ (skin tergore) มีอาการบวม (edema)
สัญญาณชีพ
มีอุณหภูมิกายขึนสูง ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก ความดัน โลหิตลดต่ำลง
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น
ปริมาณปัสสาวะลดลงเนื่องจากมีปริมาณ ของฮอร์โมน antidiuretic เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณของน้าปัสสาวะลดลงจะท้า ให้มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้น
Hypo/Hypernatremia
Hypernatremia
Na > 145. mEq/L
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น
ได้รับน้ำน้อยหรอืสญูเสียน้ำมาก
อาการ
มีไข้ต่้าๆ กระหายน้ำมาก ผิวแดง หน้าแดง บวม ปากแห้ง ลิ้นบวมแดง
การรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้าที่ไม่มีโซเดียม จ้ากัดเกลือ ขับเกลือ
เพิ่มโปรตีนในพลาสมาในรายโปรตีนต่้า (Alb)
นอนราบไม่ได้ ให้สารละลายไฮโปโทนิค (hypotonic)
Hyponatremia
Na < 135 mEq/L
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง
NG tube with suction , NG content
Coma
ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
การที่มีเหงื่อออกมากเกินออกกา้ลังกายหรืออยู่ในที่อากาศร้อน
อาการทางระบบประสาท โรคจิต ซึมเศร้า
อาการ
จากการสญูเสียโซเดียม
รุนแรงเล็กน้อย
อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
รุนแรงปานกลาง
• รู้สึกตัวดี กระหายน้า ถ้าดื่มมากจะเป็นตะคริว อาเจียน
• ความดันเลือดท่านั่งและท่ายืนมากกว่าท่านอน
• ชีพจรมากกว่า 100 ครัง/นาที ผิวหนังเหี่ยวย่น
• เริ่มรู้สึกเวียนศีรษะ เวลายืนจะเป็นลม อ่อนเพลียมาก
รุนแรงมาก
กล้ามเนือกระตุก สั่น เพ้อกระสับกระส่าย ต่อมาไม่รู้สึกตัว
ปัสสาวะน้อยกว่า 15 มล./ชม.
ปลายมือปลายเท้าเขียว และเสียชีวิต
Systolic Bp < 90 mm.Hg
ผิวหนังเหี่ยวย่นชัดเจน ขอบตาลึก
จากภาวะน้ำเกิน
Na > 120 mEq/L แต่ < 135 mEq/L
น้ำหนักเพิ่มขึ้น บวม
ปริมาณปัสสาวะปกติหรือมากกว่าปกติ
BP สูง P เร็วและแรง หลอดเลือดด้าส่วนปลายโป่งพอง
กล้ามเนืออ่อนแรงและเป็นตะคริว
ฟังหัวใจพบ murmur และ gallop
Na < 120 mEq/L
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
หงุดหงิด บุคลิกเปลี่ยนแปลง สับสน
Na < 110 mEq/L
รีเฟล็กซ์ลดลง เพ้อคลั่ง ชัก
Na < 105 mEq/L
ไม่รู้สึกตัว
การรักษา
หากกร่างกายมีการขาด Na น้อยและมีการขาดน้ำมากจะต้องให้Normalsalineและ อาหารที่มีโซเดียมสูง
หากเกิดภาวะน้ำเกินมากและขาดNaมาก จะต้องมีการให้Naทดแทนและยาขับปัสสาวะ (Furosemide)
Hypo/Hyperkalemia
Hyperkalemia
K > 5.5 mEq/L
ได้รับเพิ่มขึ้น ได้รับโปแตสเซยีมมากไปได้เลือดเก่าใกล้ หมดอายุ
ลดการขับออก เช่น ไตวายเฉียบพลันหรือเรือรัง
โปแตสเซียมออกจากเซลล์มากขึ้น ขาดอินซูลิน
อาการ
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง ต่อมาเต้นช้ากว่าปกติ
ชาและอ่อนแรงและเป็นอัมพาต
เสียงลำไส้เคลื่อนไหว เพิ่มขึ้น
รักษา
ให้แคลเซียมกูลโคเนต
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต
ให้ 50% glucose ผสมกับ regular insulin
ให้ Kayexalate
ให้ยาขับปัสสาวะ
การวนิจฉัย
ซักประวัติ การตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• K > 5.5 mEq/L
• pH < 7.35
• HCO3 < 22 mEq/L
• EKG พบ T wave สูง และแคบ QT interval สัน PR interval ยาว ต่อมา P wave หายไป QRS interval ยาวขึน
Hypokalemia
K < 3.5 mEq/L
สาเหตุ
• การท่ีมีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึน มะเร็ง ภาวะ ด่างจากการเผาผลาญ(metabolic alkalosis)
• ได้รับสารอาหารที่มีปริมาณของ K น้อยเกินไป ไม่รับประทานผักและผลไม้ โดยเฉพาะกล้วยและส้ม
• มีการสูญเสียจากการอาเจียนมากๆ
• มีอาการถ่ายเหลว
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หัวใจเต้น ไม่สม่ำเสมอ
เสียงลำไส้ เคลื่อนไหวลดลงและหยดุในเวลาต่อมา
การวนิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
•K<3.5mEq/L pH>7.45,HCO3 >29mEq/L
•EKGพบPRintervalยาวขนึเล็กน้อยSTต่ำลง Twave ตื้น มี U wave
การรักษา
ทดแทน K
ในรูปยาฉีด (intravenous infusion)
KCl
K2HPO4
ในรูปยากิน
Elixir KCl
โปแตสเซียมซิเตรต(potassiu citrate) มักใช้ในรายที่มีภาวะเลือดมี ความเป็นกรดร่วมด้วย
แก้ไขสาเหตุ
ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท มัน ฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม
ติดตามEKG
Hypo/Hypermagnesemia
Hypermagnesemia
Mg > 2.5 mEq/L
สาเหตุการท่ีไตท้างานไม่มีประสิทธิภาพ
การให้ Mg ใน หญิงตังครรภ์ ผู้ป่วยโรคไต
อาการ
มีการกดการทำงานของระบบประสาท
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือดความดันเลือดต่ำ
การรักษา
หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขับแมกนีเซียมทางปัสสาวะ
ดูแลเรื่องการหายใจ
ติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารที่แมกนีเซียมมากเช่นอาหารทะเล
Hypomagnesemia
Mg < 1.5 mEq/L
สาเหตุ
การที่ได้รับสารอาหารที่มีMgน้อยไปหรือมีการสูญเสียMg
การได้รับยาบางชนิด
อาการ
หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
การรักษา
ให้รับประทาน Magnesium oxide
ให้ 50% Mg2SO4 (Magnesium sulfate) ผสมใน D5W
Hypo/Hyperphosphatemia
Hyperphosphatemia
5.0 mg/dl
สาเหตุ
ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง
การได้รับฟอสฟอรัสมากๆ
การได้รับยา สารน้ำ หรือเลือดและส่วนประกอบของเลือดท่ีใช้กรดซิเตรทเด็กซ์โทรส
การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลลเ์พิ่มขึ้น
อาการ
ผิวหนังและหลอดเลือด ส่วนปลาย และท่ีตาทำให้เกิดการระคายเคืองและอักเสบ
เหน็บชา กระตุกของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ปวดกล้ามเนื้อ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำ ช็อก
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
การรักษา
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลัน
ให้สารน้ำ เช่น NSS , D5N
ให้กลุโคสและอินซูลิน
การล้างไต
การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง
งดการใช้ยาท่ีมีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ
ให้รับประทานยาท่ีมีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ
ให้ยาขับปัสสาวะ
การล้างไต
Hypophosphatemia
ระดับฟอสเฟตในเลือด < 2.2 mg/dl
สาเหตุ
การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความตอ้งการของร่างกาย
การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง
ไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะการได้รับยาขับปัสสาวะ
การติดสุรา
อาการและอาการแสดง
ระบบประสาทส่วนกลาง อ่อนเพลีย อิดโรย สับสน
ระบบกล้ามเนื้อ และกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การรักษา
ให้รับประทานอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครอื่ งในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ให้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบทาง
หลอดเลือดดำช้าๆ
ให้รับประทานหรือสวนทวารด้วยยาที่มี
ฟอสเฟต โพแทสเซียมฟอสเฟต
Hypo/Hypercalcemia
Hypercalcemia
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ เพิ่มขึ้น
สาเหตุ
ภาวะที่เกิดมะเร็ง
ภาวะท่ีได้รับวิตามินดีมากเกินไป
การได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ท้าให้มีการดูดกลับ ของแคลเซียมมาก
อาการ
ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะหัวใจเต้นช้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษา
ให้น้ำเกลือและยาขับปัสสาวะ
หากไม่ได้ผลหรือผู้ปว่ยเป็นโรคหัวใจหรือไตอาจจะต้องพิจารณาให้
การฟอกเลือด (hemodialysis) เพื่อที่จะขับ Ca ออกจาก ร่างกาย
การผ่าตัดต่อมพาราไทรอยด์
Hypocalcemia
มีระดับของ Ca ในเลือดน้อยกว่า 4 mg.%
สาเหตุ
มีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลง ให้เลือดท่ีการเก็บไว้นาน
ภาวะ albumin ในเลือดต่้า
การเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบ ภาวะเครียด ภาวะไตวายจะมี ระดับของฟอสเฟตสูงท้าให้ไปจับกับแคลเซียมหมด
ภาวะ cushing’s syndrome
อาการ
แขนขาเป็นตะคริว
มีผลต่อระบบหัวใจและระบบหายใจ
การรักษา
การให้แคลเซียมทดแทน
มีการให้วิตามินดีและเกลือแคลเซียมและ อาหารท่ีมีฟอสเฟตต่ำ
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เช่น D5W ,NSS ที่ผสมด้วยยา
Fluid volume deficit/excess
สาเหตุ
primary dehydration
จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้าดื่ม หรือ เกิดการบาดเจ็บรุนแรง หมดสต
secondary dehydration
เกิดจากการเสียน้าที่มีการเสียอิเลค โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม เช่น การเกิดการอาเจียน ท้องร่วง หรือมีการขับปัสสาวะออกมาก
อาการ
ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้าลาย ริมฝีปากแห้งน้าหนักลด หัว ใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
เมื่อขาดน้ำมากกว่า ร้อยละ 7
จะทำให้ความดันลดต่ำลง ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เพ้อ สับสนตาลึกโบ๋ ประสาทหลอน เส้นเลือดที่คอฝ่อ Hct เพิ่มขึน มีอาการ อ่อนเพลียไม่มีแรง ลินแตก อุณหภูมิกายเพิ่มสูงขึน กล้ามเนือเป็นตะคริว มี ความดันต่้าเวลาเปลี่ยนท่า (postural hypotension) ปัสสาวะออกน้อย กว่า 30 cc/hr.
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
urine sp. gr. >1.030
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึน
Na > 150mEq/L
Hct > 45%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ