Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง -…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
สารน้ำ (fluid)
หน้าท่ีของสารน้ำในร่างกาย :
1.ช่วยในการควบคมุอณุหภูมิของร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื่นต่อเนื้อเยื่อของร่างกาย : เช่น ปาก ตา จมูก
3.หล่อลื่นขอ้และป้องกันอวัยวะภายใน
4.ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขับของเสียผ่านทางไต
5.ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื้อเยื่อ
น้ำในร่างกาย
น้าภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 %
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
การควบคมุ สมดุลของน้ำในร่างกายมี 2 กลไก
กลไกการระเหยของน้ำเป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum)
การควบคุมโดยฮอร์โมน Antidiuretic hormone (ADH) ถูกสร้างจากต่อมใต้ สมองส่วนหลัง
การประเมินสมดุล ของเหลว การซักประวัติ •ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ •การตรวจร่างกาย
สาเหตุ
primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้าดื่ม หรือ เกิดการบาดเจ็บรุนแรง หมดสติ
secondary dehydration เกิดจากการเสียน้าที่มีการเสียอิเลค โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม เช่น การเกิดการอาเจียน ท้องร่วง หรือมีการขับปัสสาวะออกมาก
อาการ ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้าลาย ริมฝีปากแห้งน้าหนักลด หัว ใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะ
hypovolemia
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัวระดับความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
ดูแลความสะอาดปากฟัน
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก โดยจะต้องมีน้ำออกไม่น้อยกว่า
30cc/hrหากผู้ป่วยใส่สายcatheterและต้องมีปัสสาวะไม่น้อยกว่า500-700 cc/day
ภาวะน้ำเกิน
(hypervolemia)
สาเหตุ เกิดจาก การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป
ได้รับยา corticosteroid มีการอุดกันของทางเดินปัสสาวะ มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการที่เกิดขึ้นได้แก่
pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจล้าบาก ไอมาก congestive heart failure
neck vein engorged
น้ำหนักเพิ่มมากขึ้น อาจมีอาการชัก บวมตามปลายมือปลายเท้า
ความดัน โลหิตเพิ่มขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน • บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว
• ดูแลจำกดน้ำและเกลือ
•ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
• บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก (I/O) •ติดตามผลทางห้องปฏิบัตการ(LAB) •จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สขุสบายหายใจได้สะดวก
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ เกิดจาก
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability
เกิด การอุดตันของระบบทางเดินน้ำเหลือง (lymphatic obstruction)
อาการ
น้ำหนักขึ้น ร้อยละ 5
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื่น แดง
ชีพจรแรง หายใจล้าบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
หลอดเลือดด้าที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement) กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำปัสสาวะอาจออกมากหรือ น้อยกว่าปกติได้
การตรวจ
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดท่ีคอโป่ง
ผล urine spgr. < 1.010 พบ Na ในปัสสาวะ
Na ในเลือด< 135 mEq/L Hct ต้่ากว่าปกติได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะบวม(edema)
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
• ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน้ำเกิน • จัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler’s position • จำกัดน้ำดื่ม จำกัดอาหารเค็ม
• บันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้าหนัก, I/O
• ดูแลให้ hypertonic saline ตามแผนการรักษา เพื่อปรับ plasma osmolality
• ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
Electrolyte
กลุ่มท่ีมีประจุบวก ท่ีเรียกว่า cations ประกอบไปด้วย sodium, potassium, calcium, magnesium
สารท่ีมีประจุลบ ท่ีเรียกว่า anions ได้แก่ chloride, phosphorus, bicarbonate
โซเดียม
(sodium, Na)
ภาวะที่กายมีระดับของโซเดยีมต่ำ
(hyponatremia)
Na < 135 mEq/L สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง
NG tube with suction , NG content การที่มีเหงื่อออกมากเกินออกกา้ลังกายหรืออยู่ในที่อากาศร้อน อาการทางระบบประสาท โรคจิต ซึมเศร้า
Coma
อาการ
1.จากการสญูเสียโซเดียม
1.1 รุนแรงเล็กน้อย อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
1.2 รุนแรงปานกลาง
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน (hypernatremia)
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น เช่น ได้รับสารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ ไตวาย หัวใจล้มเหลว
2.ได้รับน้ำน้อยหรือสญูเสียน้ำมากเช่น มีไข้ ไฟลวกรุนแรง สูญเสียน้ำจากปอด มีท่อระบายจากแผลหรือจากร่างกาย
โปแตสเซียม
(Potassium, K)
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
K < 3.5 mEq/L
• สาเหตุ เกิดจาก
การท่ีมีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึน มะเร็ง ภาวะ ด่างจากการเผาผลาญ(metabolic alkalosis)
• ได้รับสารอาหารที่มีปริมาณของ K น้อยเกินไป ไม่รับประทานผักและผลไม้ โดยเฉพาะกล้วยและส้ม
• มีการสูญเสียจากการอาเจียนมากๆ
• มีอาการถ่ายเหลว
หลักการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
สังเกตอาการอ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
บันทึกสัญญาณชพี
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏบิตักิาร
ดูแลให้รบัประทานอาหารที่มีโปแตสเซยีมสงู
บันทึกI/O
ดูแลให้สารน้าที่มีการผสมโปแตสเซยี มเขา้ ทางหลอดเลือด
ด้าในกรณทีขี่าดรุนแรง
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง
(hyperkalemia)
อาการภาวะโปแตสเซยีมในเลือดสูง
หัวใจมีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่าง รนุแรงหัวใจเต้นเร็ว มากกว่า100 ครั้ง/นาทีต่อ มาเต้นช้ากว่าปกติ สุดท้ายหัวใจจะหยุดเต้น ทำให้เลือดท่ีไปเลี้ยงลดลงความดันโลหิตล
กล้ามเนือ ชาและอ่อนแรงและเป็นอัมพาต
การหายใจเกิดภาวะขาดออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
ระบบทางเดินอาหาร เสียงลำไส้เครื่อนไหวเพิ่มขึ้น
แคลเซียม (calcium, Ca)
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
สาเหตุจาก
ภาวะที่เกิดมะเร็ง
ภาวะท่ีได้รับวิตามินดีมากเกินไป
การได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ท้าให้มีการดูดกลับ ของแคลเซียมมาก
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว สับสน ความจำเสื่อม ซึม หมดสติ ปริมาณปัสสาวะเพิ่มขึ้น ปัสสาวะบ่อย ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะหัวใจเต้นช้า การตอบสนองต่อรีเฟล็กซ์ลดลงหรือไม่มี กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดกระดกู
การพยาบาลภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
ประเมินการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ( EKG )
ประเมินอาการทางระบบประสาท (Neuro signs)
ประเมินการเคลื่อนไหวของล้าไส้ (Bowel signs) กระตนุ้ให้มีการดมื่น้ามากๆ
ติดตามผล lab ให้อาการทมี่ีกากใยสูงเพอื่ปอ้งกันภาวะทอ้งผูก ให้การพยาบาลด้วยความนมุ่นวลเพื่อป้องกนักระดกูหัก
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia)
สาเหตุเกิดจาก
มีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลง ให้เลือดท่ีการเก็บไว้นาน
ภาวะ albumin ในเลือดต่้า
การเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบ ภาวะเครียด ภาวะไตวายจะมี ระดับของฟอสเฟตสูงท้าให้ไปจับกับแคลเซียมหมด
ภาวะ cushing’s syndrome
อาการ
จะมีการชาตามนวิมือนวิเทา้มือจีบ(trousseau’ssign)
และริมฝีปากเกร็งกระตกุ (tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว
มีผลต่อระบบหัวใจ หัวใจบีบตัวลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความ ดันโลหิตต่้า
ระบบหายใจ การเกร็งของกล้ามเนือในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ การเกร็งของกล่องเสียง หายใจมีเสียงดัง และหายใจล้าบาก
การรักษา
การให้แคลเซียมทดแทน ได้แก่ 10% แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมคลอไรด์
ดูแลเรื่องการหายใจ
ติดตามการท้างานของกล้ามเนือหัวใจ
มีการให้วิตามินดีและเกลือแคลเซียมและ อาหารท่ีมีฟอสเฟตต่้า
แมกนีเซียม
(magnesium, Mg)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ
(hypomagnesemia)
สาเหตุ
การที่ได้รับสารอาหารที่มีMgน้อยไปหรือมีการสูญเสียMg
ทางไตมากเกิน
การได้รับยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาในกลุ่ม aminoglycoside, amphotericin B, Digitalis
ภาวะทุพโภชนาการ
เกิดจากภาวะ alcoholism
อาการ
นอนไม่หลับ มองเห็นภาพหลอน กระสับกระส่าย สับสน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
กล้ามเนือบิด เกร็ง กล้ามเนือสั่น ชา
การรักษา
ให้รับประทาน Magnesium oxide
ให้ 50% Mg2SO4 (Magnesium sulfate) ผสมใน D5W
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน
(hypermagnesemia)
สาเหตุ
การท่ีไตท้างานไม่มีประสิทธิภาพ
การให้ Mg ใน หญิงตังครรภ์
ผู้ป่วยโรคไต
อาการ
ระบบประสาท มีการกดการทำงานของระบบประสาททำให้ เกิดอาการทางระบบประสาทง่วงซึม ระดับความรู้สึกตัว
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือดความดันเลือดต่ำหลอดเลือดส่วนปลาย ขยาย หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบหายใจ หายใจล้าบาก หายใจช้า เนื่องจากกล้ามเนือ หายใจเป็นอัมพาต
ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขบั แมกนีเซียมทิงทาง
ปัสสาวะ
งดยา ยาที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบ ดูแลเรื่องการหายใจ ติดตามการท้างานของกลา้ มเนือหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารทมี่ีแมกนีเซียมมากเช่นอาหารทะเล ธัญพืช และจมูกข้าวสาลี
ฟอสฟอรัส (Phosphorus)
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemia)
สาเหตุ
การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเช่นการขาดอาหาร การอดอาหาร
การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง ได้แก่ การขาด วิตามินดี การได้รับยาอะลูมิเนียม และแมกนีเซียมเป็น ให้กลไกการดูดซึมฟอสฟอรัสเข้าสู่ร่างกายถูก ขัดขวาง
ไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะการได้รับยาขับปัสสาวะ การติดสุรา
อาการและอาการแสดง
ระบบประสาทส่วนกลาง อ่อนเพลีย อิดโรย สับสน ชัก และไม่รู้สึกตัว
ระบบกล้ามเนอื และกระดกู กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อสั่น ชา ปวดกระดูก กระดูกเปราะหักง่าย และข้อติด
ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ซีด เกร็ด เลือดทำงานผิดปกติ
ระบบหายใจ หายใจเร็วตื่น
ระบบทางเดินอาหาร - เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ตับท้างาน ผิดปกติ
การรักษา
ให้รับประทานอาหารทมี่ีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ให้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบทาง
หลอดเลือดดำช้าๆ เช่น โซเดียมฟอสเฟต และ โปแตสเซียมฟอสเฟต
ให้รับประทานหรือสวนทวารด้วยยาที่มี
ฟอสเฟต โพแทสเซยี มฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
(hyperphosphatemia)
สาเหตุ
ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง ไตวายเรือรัง
การได้รับฟอสฟอรสั มากๆ เช่น การได้รับยาหรือสารเคมีท่ีมีฟอสเฟต เป็นองค์ประกอบ เช่น ยาระบาย ยาสวนอุจจาระ ยาลดกรด
การได้รับยาสารน้ำ หรือเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ท่ีใช้กรดซิเตรทเด็กซ์โทรส เพื่อต้านการแข็งตัวของเลือด การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลลเ์พิ่มขึ้น