Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุข และแผนพัฒนาการสาธารณสุข, นางสาวกุลณรัตน์…
บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุข
และแผนพัฒนาการสาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
หมายถึง
องค์การอนามัยโลก (WHO, 2004) ให้ความหมายไว้ในธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกเมื่อ ค.ศ. 1948 หมายถึง สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข โดยไม่ได้หมายความเพียงแต่การปราศจากโรค และปราศจากการทุพพลภาพเท่านั้น
พยาบาลอนามัยชุมชน
(Community Health Nursing)
พยาบาลสาธารณสุข (Public health Nursing: PHN)
เป็นผู้ที่ปฏิบัติการพยาบาลที่ทำงานร่วมกับกลุ่มคน ชุมชน เป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกัน มุ่งเน้นไปที่การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพโดยมีบทบาทในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้น
พยาบาลอนามัยชุมชน
(Community Health Nursing: CHN)
ผู้ที่ปฏิบัติการ
พยาบาล โดยใช้การสังเคราะห์ความรู้มาสู่การปฏิบัติการพยาบาลและการสาธารณสุขสู่การสร้างเสริมสุขภาพ คงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีของประชาชนในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน รวมทั้งชุมชน
ชุมชน (Community)
Communal = การทำงานโดยชุมชนเพื่อชุมชน
Common = การที่สมาชิกอยู่ร่วมด้วยกัน
Commune = การที่สมาชิกมีความรู้สึกผูกพันใกล้ชิดกัน
หมายถึง
กลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตเกี่ยวพันกัน และมีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างเป็นปกติและต่อเนื่อง โดยเหตุที่อยู่ในอาณาบริเวณเดียวกัน หรือมีอาชีพเดียวกัน หรือประกอบกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน หรือมีวัฒนธรรม ความเชื่อหรือความสนใจร่วมกัน
ประเภทของชุมชนในทางสังคมวิทยาได้ 2 ประเภท คือ
ชุมชนเมือง (Urban Communities)
ชุมชนชนบท (Rural communities)
การสาธารณสุข (WHO, 2014)
หมายถึง
มาตรการจัดระเบียบทั้งหมด (ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน) เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพคน รวมทั้งยืดอายุของประชากรโดยรวม เป็นกิจกรรมที่มุ่งมั่นที่จะให้คนสามารถมีสุขภาพดีและมุ่งเน้นไปที่ประชากรทั้งหมด
อนามัยชุมชน (WHO, 2004)
หมายถึง
เป็นการรวมวิทยาศาสตร์ ทักษะ และความเชื่อของบุคคล ที่จะคงไว้ในการดูแลสุขภาพของบุคคลให้ดีขึ้น เป็นรูปแบบการให้บริการสุขภาพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นการป้องกันโรคและตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรทั้งหมด
การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน
ด้านบริการ
มีหน้าที่ให้บริการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนในระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนตามขอบเขตความรับผิดชอบ ให้การบริการที่ครบถ้วน ผสมผสาน และต่อเนื่องครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพ
ด้านการบริหารจัดการ
การวางแผนงาน
การประเมินผล
การดำเนินงาน
ด้านวิชาการ
หน้าที่พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาการของตนเอง ให้มีความทัรสมัยเป็นปัจจุบัน
หน้าที่การให้ความรู้วิชาการในการดูแลสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชน
การพัฒนาความรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
ผู้ให้บริการทางด้านสุขภาพ (Healthcare Provider)
ผู้บริหารจัดการ (Manager) ใช้หลักการ POSCoRB
ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Educator)
ผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ (Advocator)
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
ผู้ประสานงาน (Co-ordinator)
ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
ผู้วิจัย (Researcher)
ผู้นำ (Leader)
ผู้ให้ความร่วมมือ (Collaborator)
ระบบสุขภาพภาคประชาชนกับ
สถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
พยาบาลอนามัยชุมชน
องปรับกลยุทธ์การให้บริการให้เป็นไปตามกระบวนทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ใช้การต่อยอดงานสาธารณสุขมูลฐานให้มีความทันสมัยและเท่าทันกับสถานการณ์และทิศทางเดียวกันกับแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
สถานการณป์ญหาสุขภาพปัจุจบัน
พบว่าคนไทยมีอายุยืนนานขึ้นเนื่องจากคนมีความรู้และมีการดูแลสุขภาพตนเอง ได้ดีขึ้นทำให้สังคมไทยก้าวไปสู่สังคมผสูู้งอายุ โดยจะมีการเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วคาดการณ์ว่าอีกยี่สิบปีข้างหน้าประเทศไทยจะมีจำนวนผู้สูงอายุสูงถึงหนึ่งในสี่ของประชากรทั้งหมด
เรื่องของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจะเปลี่ยนจากกลุ่มโรคติดต่อมาเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ทั้งนี้ เกิดเนื่องจากการถดถอยของสมรรถภาพการทำงาน
ของอวยัวะต่างๆ ในร่างกายและผลสะสมของ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ มะเร็ง ฯลฯ
นางสาวกุลณรัตน์ นราวงษ์ เลขที่ 9
รหัส 611001401730