Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำเกลือแร่ และกรด-ด่าง Fluid…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำเกลือแร่ และกรด-ด่าง Fluid & Electrolytes imbalance
สารน้ำ
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื นต่อเนื อเยื่อของร่างกาย เช่น ปาก ตา จมูก
หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื อเยื่อ
สารน้ำ(fluid) ในร่างกาย หมายถึง น้ำและสารประกอบ ที่ละลายอยู่ในน้ำ ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์ทั้งประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ (fluid homeostasis)
ภาวะขาดน้ำ
สาเหตุ
primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ
secondary dehydration เกิดจากการเสียน้ำที่มีการเสียอิเลค
โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม
อาการไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน ้าลาย ริมฝีปากแห้งน้ำหนักลด หัวใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
urine sp. gr. >1.030
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ น
Na > 150mEq/L
Hct > 45%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
การพยาบาล
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัวระดับความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
ดูแลความสะอาดปากฟัน
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก โดยจะต้องมีน้ำออกไม่น้อยกว่า30 cc/hr หากผู้ป่วยใส่สาย catheter และต้องมีปัสสาวะไม่น้อยกว่า 500-700 cc/day
ภําวะน้ำเกิน
อาการ
pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจล้าบาก ไอมาก
congestive heart failure
neck vein engorged
น้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอาจมีอาการชัก
บวมตามปลายมือปลายเท้า
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน ้าเกิน
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว
ดูแลจ้ากัดน้ำและเกลือ
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก (I/O)
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย หายใจได้สะดวก
สาเหตุ
การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป
ได้รับยา corticosteroid
มีการอุดกั นของทางเดินปัสสาวะ
มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
ภาวะ Alb ในเลือดต่้า
ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ
มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability
เกิด การอุดตันของระบบทางเดินน ้าเหลือง (lymphatic obstruction)
อาการ
น้ำหนักขึ้นร้อยละ 5
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื่น แดง
ชีพจรแรง หายใจล้าบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
หลอดเลือดด้าที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement)
กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำปัสสาวะอาจออกมากหรือ น้อยกว่าปกติได้
การตรวจร่างกาย
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดที่คอโป่ง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล urine spgr. < 1.010
พบ Na ในปัสสาวะ
Na ในเลือด< 135 mEq/L
Hct ต่ำกว่าปกติได้
การพยาบาล
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน ้าเกิน
จัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler’s position
จำกัดน้ำดื่ม จำกัดอาหารเค็ม
บันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้ำหนัก, I/O
ดูแลให้hypertonic saline ตามแผนการรักษาเพื่อปรับ plasma osmolality
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
Electrolyte
กลุ่มที่มีประจุบวกที่เรียกว่า cations ประกอบไปด้วย
sodium, potassium, calcium, magnesium
สารที่มีประจุลบ ที่เรียกว่า anions ได้แก่ chloride,
phosphorus, bicarbonate
โซเดียม
(sodium, Na)
ค่าปกติ 135-145 mEq/L
ภาวะที่ร่ํางกํายมีระดับของโซเดียมต่ำ(hyponatremia)
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง
NG tube with suction , NG content
การที่มีเหงื่อ ออกมากเกิน ออกก้าลังกาย หรืออยู่ในที่อากาศร้อน
อาการทางระบบประสาท โรคจิต ซึมเศร้า
Coma
อาการ
รุนแรงเล็กน้อย
อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
รุนแรงปานกลาง
รู้สึกตัวดี กระหายน้ำถ้าดื่มมากจะเป็นตะคริว อาเจียน
เริ่มรู้สึกเวียนศีรษะ เวลายืนจะเป็นลม อ่อนเพลียมาก
ความดันเลือดท่านั่งและท่ายืนมากกว่าท่านอน
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาที ผิวหนังเหี่ยวย่น
รุนแรงมาก
กล้ามเนื้อกระตุก สั่น เพ้อกระสับกระส่าย ต่อมาไม่รู้สึกตัว
Systolic Bp < 90 mm.Hg
ผิวหนังเหี่ยวย่นชัดเจน ขอบตาลึก
ปัสสาวะน้อยกว่า 15 มล./ชม.
ปลายมือปลายเท้าเขียว และเสียชีวิต
การวินิจฉัย