Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง Fluid…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง Fluid & Electrolytes imbalance
สารน้ำ (fluid)
น้ำและ
สารประกอบ ที่ละลายอยู่ในน้ำได้แก่ อิเลคโทรลัยท์
ทั้งประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน
-น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของสารน้ำในร่างกาย
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
-ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
-เป็นให้ความชุ่มชืนต่อเนื้อเยื่อของร่างกาย เช่น ปาก ตา จมูก
-หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
-ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
-ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
-น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื้อเยื่อ
น้ำในร่างกาย
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 % ได้แก่ น้ำที่
อยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ในหลอดเลือด ในเนื อเยื่อเกี่ยวพัน ในกระดูกและในช่องว่างต่าง ๆ
เช่น ในเข่า ข้อนิ วและน ้าไขสันหลัง
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
กลไกปกติของสมดลน้ำการควบคุมสมดุลของน้ำในร่างกายมี 2 กลไก
กลไกการระเหยของน้ำ
เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum)
เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำ ร้อยละ 1-2 ของน ้าในร่างกายทั้งหมด (เครียด เจ็บปวด ยาบางชนิด เช่น มอร์ฟีน) จะเพิ่มออสโมลาลิตี (อนุภาคทั งหมดที่
ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร)ของน้ำนอกเซลล์ ท้าให้เซลล์ขาดนน้ำเล็กน้อยนิวรอน (Neuron) ในไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นศูนย
กระหายกระหายน ้าจะตอบสนองต่อการขาดน ้า และส่งกระแสประสาทกระตุ้นไปยังน้ำจะตอบสนองต่อการขาดน้ำและส่งกระแสประสาทกระตุ้นไปยังสมองใหญ่ ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ
การควบคุมโดยฮอร์โมน
-Antidiuretic hormone (ADH) ถูกสร้างจากต่อมใต้
สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการกระตุ้นการหลั่ง ADH เช่นกัน โดย ADH ท้าหน้าที่
ส่งเสริมการดูดน้ำกลับที่ท่อไตส่วนปลาย (Distal tubules)และท่อรวม (Collecting duct) ท้าให้จ้านวนปัสสาวะ
ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่ิ่ิ่่ิ่มขึ้นและปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
-Aldosterone เป็นฮอร์โมนที่ท้าหน้าที่ ร่วมกับ ADHเพื่อ
ควบคุมน ้าในร่างกาย aldosterone ถูกหลั่งจากAdrenal
cortex จะหลั่งเพิ่มขึ นเมื่อปริมาตรของพลาสมาลดลง โซเดียม
ในพลาสมาลดลงหรือมีความเครียดทำให้มีการดูดกลับของของ
โซเดียมและดึงน้้ำกลับ
-การมีโซเดียมในพลาสมาสูง ยังกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ(fluid homeostasis)
1.ความผิดปกติของ ส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
2.ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนภาวะเสียสมดุลของน้ำและอิเลคโทรลัยท์ ที่ส้าคัญ ได้แก่
-การเสียสมดุลปริมาตรและความเข้มข้น
-ภาวะเสียสมดุลอิเลคโทรลัยท์ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemia, Fluid
volume deficit)
สาเหตุ
-primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด
จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้ำดื่ม
-secondary dehydration เกิดจากการเสียน ้าที่มีการเสียอิเลค
โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม
อาการ
-ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้ำลาย ริมฝีปากแห้งน้ำหนักลด หัว
ใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
-เมื่อขาดน้ำมากกว่าร้อยละ 7 จะท้าให้ความดันลดต่้าลง ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เพ้อ
สับสนตาลึกโบ๋ ประสาทหลอน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
-urine sp. gr. >1.030
-BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ้น
-Na > 150mEq/L
Hct > 45%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-มี/เสี่ยงต่อภาวะขาดน ้า/ได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการ
ของร่างกายเนื่องจากท้องร่วง/อาเจียน
-เกิด/เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวายเนื่องจาการสูญเสียน้ำ
-เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
การพยาบาลผู้ป่วย
hypovolemia
-ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
-บันทึกสัญญาณชีพ น ้าหนักตัวระดับความรู้สึกตัว
-ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
-ดูแลความสะอาดปากฟัน
-ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
-บันทึกปริมาณน ้าเข้าออก โดยจะต้องมีน ้าออกไม่น้อยกว่า
30 cc/hr หากผู้ป่วยใส่สาย catheterและต้องมีปัสสาวะไม่น้อยกว่า 500-700 cc/day
การประเมินสมดุลของเหลว
-การซักประวัติ
-ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจร่างกาย
ต้องดูว่าผู้ป่วยมีโรคหรืออาการบาดเจ็บที่ส่งผลต่อสมดุล
ของเหลวหรือไม่ เช่น การเป็นโรคตับ
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า การขาดน้ำอย่างรุนแรงจะส่งผลท้าให้ตาลึกโหล
สัญญาณชีพ มีอุณหภูมิกายขึ นสูง ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น ปริมาณปัสสาวะลดลงเนื่องจากมีปริมาณของฮอร์โมน antidiuretic เพิ่มขึ้น
ภาวะน้ำเกิน
(hypervolemia)
คือ water
intoxication เป็น ภาวะที่มีน ้าในร่างกายมากกว่า 60%
ของน ้าหนักตัว ECF มากกว่าปกติ จะมีอาการบวม
(edema)
สาเหตุ เกิดจาก
-การได้รับเกลือและน ้ามาก เกินไป
-ได้รับยา corticosteroid
-มีการอุดกั นของทางเดินปัสสาวะ
-มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
-ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ ที่เกิดขึ้น
-pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจล้าบาก ไอมาก
-congestive heart failure
-neck vein engorged
-น้ำหนักเพิ่มมากขึ น อาจมีอาการชัก
-บวมตามปลายมือปลายเท้า
-ความดัน โลหิตเพิ่มขึ น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
• มี/เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรื้อรัง/โปรตีนใน
เลือดต่้า/ไตสูญเสียหน้าที่
• ได้รับสารน ้าสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของ
ร่างกายเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน
• เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะน้ำเกิน
hypervolemia
• ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
• บันทึกสัญญาณชีพ น ้าหนักตัว
• ดูแลจ้ากัดน ้าและเกลือ
• ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
• บันทึกปริมาณน ้าเข้าออก (I/O)
• ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
• จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย หายใจได้สะดวก
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ
-แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
-ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
-ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ
-มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability
-เกิด การอุดตันของระบบทางเดินน้ำเหลือง (lymphatic
obstruction)
อาการ
น้ำหนักขึ้น ร้อยละ 5
•มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื้น แดง
•กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน
การตรวจร่างกาย
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดที่คอโป่ง
• ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล urine spgr. < 1.010
พบ Na ในปัสสาวะ
Na ในเลือด< 135 mEq/L
Hct ต่้ากว่าปกติได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรื อรัง/ไตสูญเสียหน้าที่
-เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากโปรตีนในเลือดต่ำ
-ได้รับสารน ้าสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาลผปวยทมภำวะบวม (edema)
-ประเมินระดับความรู้สึกตัว
-ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน้ำเกิน
-จัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler’s position
-จำกัดน้ำดื่ม จำกัดอาหารเค็ม
-บันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้ำหนัก, I/O
-ดูแลให้hypertonic saline ตามแผนการรักษา
-ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
Electrolyte
หมายถึง สารที่แตกตัวเป็น
ไอออนได้ ในร่างกายแบ่งสารอิเลคโทรลัยท์ ออกเป็น 2 กลุ่ม
-กลุ่มที่มีประจุบวก ที่เรียกว่า cations ประกอบไปด้วย
sodium, potassium, calcium, magnesium
-สารที่มีประจุลบ ที่เรียกว่า anions ได้แก่ chloride,
phosphorus, bicarbonate
-ร่างกายได้รับ E’lyte จากอาหาร น้ำดื่ม หรืออาจได้รับจากยา
หรือสารน้ำทางหลอดเลือดด้าในการรักษาภาวะของโรค
-E’lyte เหล่านี จะอยู่ในสารน ้าของร่างกายทั งภายในเซลล์และ
ภายนอกเซลล์
-ตัวที่ท้าหน้าที่ในการควบคุม E’lyte ได้แก่ ระบบไต ระบบต่อมไร้
ท่อ และระบบทางเดินอาหาร
โซเดียม
(sodium, Na)
-โซเดียมเป็นอิเลคโทรลัยท์ที่มีมากที่สุดในร่างกาย
-ค่าปกติ 135-145 mEq/L
-ปริมาณของโซเดียมที่ ร่างกายได้รับขึ นกับอาหารที่
รับประทาน
-ในคนปกติต้องการได้รับเกลือใหญ่ ขนาด 2 กรัม/วัน
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ(hyponatremia)
-Na < 135 mEq/Lสาเหตุ เกิดจาก
-ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
-ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
-สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง
-NG tube with suction , NG content
-การที่มีเหงื่อ ออกมากเกิน ออกก้าลังกาย หรืออยู่ในที่อากาศร้อน
-อาการทางระบบประสาท โรคจิต ซึมเศร้า
แบ่งออกเป็น
-รุนแรงเล็กน้อย Na = 125 -135 mEq/L
-รุนแรงปานกลาง Na = 115 -125 mEq/L
-รุนแรงมาก Na = 90 -115 mEq/L
อาการ
จากการสูญเสียโซเดียม
1.1 รุนแรงเล็กน้อย อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
1.2 รุนแรงปานกลาง
1.3 รุนแรงมาก
กล้ามเนื อกระตุก สั่น เพ้อกระสับกระส่าย ต่อมาไม่รู้สึกตัว
จากภาวะน ้้าเกิน
2.1 Na > 120 mEq/L แต่ < 135 mEq/L
น้ำหนักเพิ่มขึ้น บวม
2.2 Na < 120 mEq/L เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
2.3 Na < 110 mEq/L รีเฟล็กซ์ลดลง เพ้อคลั่ง ชัก
2.4 Na < 105 mEq/Lไม่รู้สึกตัว
การวินิจฉัย
-ระดับของ Na < 135 mEq/L
-Osmolarity < 285 mosm/kg
-urine sp gr. 1.002-1.004
-BUN สูง,
-Na ในปัสสาวะ < 10 mEq/L
-จากการซักประวัติ พบว่า มีอาการอาเจียน ท้องร่วงร่วมด้วย
การรักษา
-หากร่างกายมีการขาดNaน้อยและมีกำร
ขำดน ้ำมำก จะต้องให้ Normal saline และ
อาหารที่มีโซเดียมสูง
-หากเกิดภาวะน้ำเกินมากและขาดNaมากก
จะต้องมีการให้ Na ทดแทน และยาขับ
ปัสสาวะ (Furosemide)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-มี/เสี่ยงต่อภาวะโซเดียมในร่างกายต่้าเนื่องจากอาเจียน/
ท้องร่วง/แผลไหม้/ขาดสารอาหาร
-เสี่ยงต่อการเกิดแผลในปากเนื่องจากเยื่อบุปากแห้ง
หลักการพยาบาล
-หาสาเหตุและแก้ไข
-ให้โซเดียมทดแทนและป้องกันภาวะ shock
-ป้องกันภาวะโซเดียมต่้า
-ประเมินระดับความรู้สึกตัว ป้องกันการเกิดอุบัติเหต
-ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันต่างๆ
-ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเพื่อลดความวิตกกังวล
-ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะที่ร่ำงกายมีระดับของโซเดียมเกิน
(hypernatremia)
Na >145 mEq/L
สาเหตุ
1.ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น
2.ได้รับน้ำน้อยหรือสูญเสียน้ำมาก
อาการทั่วไป
1.มีไข้ต่ำกระหายน้ำ
ผิวหนัง ผิวแดง หน้าแดง บวม ปากแห้ง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็ว
ระบบหายใจ หายใจหอบเหนื่อย
ระบบประสาท สับสน
ระบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง
หลักการพยาบาลภาวะโซเดียมในเลือดสูง
(hypernatremia)
-จำกัดกิจกรรมบนเตียง ให้นอนพักบนเตียง
-ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินระดับความรู้สึกตัว
-ดูแลให้สารน้ำทดแทน
-จ้ากัดน้ำดื่มในกรณีที่มีภาวะน้ำเกิน
-บันทึกI/O ชั่งน้ำหนัก
-ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
โปแตสเซียม
(Potassium, K)
หน้าที่ของ K เป็นปัจจัยร่วมในการท้างานของ insulin ในการนำ
กลูโคสเข้าเซลล์
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
-K < 3.5 mEq/L
สาเหตุ เกิดจากการที่มีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น
ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึ้น
ได้รับสารอาหารที่มีปริมาณของ K น้อยเกินไป
ไม่รับประทานผักและผลไม้ โดยเฉพาะกล้วยและส้ม
-K < 3.5 mEq/L สาเหตุ เกิดจากการเสียเลือด
สิ่งคัดหลั่งจากแผล drain ต่างๆ
อาการ ของภาวะ K ต่ำ ได้แก่
-กล้ามเนื้อกล้ามเนื้ออ่อนแรง
-หัวใจ หัวใจเต้นไม่สม่้าเสมอ
-หายใจ หายใจตื้น
-ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหารคลื่นไส
การรักษา
ทดแทน K
1.1. ในรูปยาฉีด (intravenous infusion)
โปแตสเซียมคลอไรด์ (KCl)
ในรูปยากิน
2.1 Elixir KCl
2.2 โปแตสเซียมซิเตรต (potassium
citrate)
3.แก้ไขสาเหตุ
พยายามให้อาหาร
ที่มีปริมาณของ K มากพอ เช่นผักใบเขียว มะเขือเทศ
หลักการพยาบาลภาะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
-สังเกตอาการอ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
-บันทึกสัญญาณชีพ
-ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง
-บันทึกI/O
-ดูแลให้สารน้ำมีการผสมโปแตสเซียมเข้าทางหลอดเลือด
ดำในกรณีที่ขาดรุนแรง
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง
(hyperkalemia)
K > 5.5 mEq/Lสาเหตุ เกิดจาก
ได้รับเพิ่มขึ้นได้รับโปแตสเซียมมากไป ได้เลือดเก่าใกล้
หมดอายุ
ลดการขับออกไตวายเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
3.โปแตสเซียมออกจากเซลล์มากขึ้นขาดอินซูลิน
อาการภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง
-หัวใจ มีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง หัวใจเต้นเร็ว
มากกว่า 100 ครั้ง/นาทีต่อมาเต้นช้ากว่าปกติ
-กล้ามเนื้อ ขาและอ่อนแรง
-การหายใจ เกิดภาวะขาดออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
-ระบบทางเดินอาหาร เสียงล้าไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น
การรักษาภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia)
-ให้ 50% glucose ผสมกับ regular
insulin
-ให้Kayexalate
-ให้ยาขับปัสสาวะ
หลักการพยาบาลภาวะที่มีระดบของโปแตสเซียมสง
(hyperkalemia)
-บันทึกสัญญาณชีพ
-ดูแลจ้ากัดอาหารที่มีโปแตสเซียม
-ป้องกันการเกิดอันตรายต่อหัวใจ
โดยการให้ Cagluconate
-ติดตามผลตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
-เพื่มการขับเอาโปแตสเซียมออกจากร่างกาย เช่น
การให้ดื่มน้ำมาก ๆ
แคลเซียม(calcium, Ca)
-เป็นส่วนประกอบที่ส้าคัญของกระดูกของร่างกาย
-ช่วยในการหดรัดตัวของกล้ามเนื อทุก ชนิดโดยแคลเซียมจะไปจับกับ
โทรโปนินแล้วกระตุ้นให้เกิดการหดตัวต่อไป
-ช่วยในการคัดหลั่งฮอร์โมน
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน
(hypercalcemia)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์
เพิ่มขึ น สาเหตุจาก
-ภาวะที่เกิดมะเร็ง
-ภาวะที่ได้รับวิตามินดีมากเกินไป
-การได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ท้าให้มีการดูดกลับ
ของแคลเซียมมาก
อาการ
-คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ล้าไส้ไม่เคลื่อนไหว
-ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
-กล้ามเนื ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษาภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน
-ให้น้ำาเกลือและยาขับปัสสาวะ
-หากไม่ได้ผลหรือผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจหรือไตอาจจะต้องพิจารณาให้
การฟอกเลือด (hemodialysis) เพื่อที่จะขับCa ออกจาก ร่างกาย
-ติดตามการท้างานของกล้ามเนื้อหัวใจ
-ให้ยา corticosteroid
-ควบคุมอาหาร
-การผ่าตัดต่อมพาราไทรอยด์
-การรักษาด้วยยา
-การรักษามะเร็ง
การพยาบาลภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน
-ประเมินการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ( EKG )
-ประเมินอาการทางระบบประสาท (Neuro signs)
-ประเมินการเคลื่อนไหวของล้าไส้ (Bowel signs)
-กระตุ้นให้มีการดื่มน ้ามาก ๆ
-ติดตามผล lab
-ให้อาการที่มีกากใยสูงเพื่อป้องกันภาวะท้องผูก
-ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลเพื่อป้องกันกระดูกหัก
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต ่ำ
(hypocalcemia)
คือ มีระดับของ Ca ในเลือดน้อยกว่า 4 mg.% มักพบใน
ภาวะที่เจ็บป่วยเรื อรัง สาเหตุเกิดจาก
-มีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลง
-ให้เลือดที่การเก็บไว้นาน
-ภาวะ albumin ในเลือดต่้า
-การเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบ ภาวะเครียด
-ระดับของฟอสเฟตสูงท้าให้ไปจับกับแคลเซียมหมด
ภาวะ cushing’s syndrome
อาการ
-จะมีการชา ตามนิวมือนิวเท้า มือจีบ (trousseau’s sign)
และริมฝีปากเกร็งกระตุก(tetany) แขนขาเป็นตะคริว
-มีผลต่อระบบหัวใจ หัวใจบีบตัวลดลง
-ระบบหายใจ หายใจมีเสียงดัง
-ระบบทางเดินอาหารคลื่นไส้อาเจียน
-กระดูก มีภาวะกระดูกหักได้ง่าย
-ค่าการแข็งตัวของเลือดนานขึ้น (prolong bleeding time)
อ่อนเพลีย วิตกกังวล กระสับกระส่าย สับสน ชัก
การรักษาภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต ่ำ่
-กำจัดสาเหตุ
-การให้แคลเซียมทดแทน ได้แก่ 10%
แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมคลอไรด
-ดูแลเรื่องการหายใจ
-ติดตามการท้างานของกล้ามเนื อหัวใจ
-ดูแลให้สารน ้าทางหลอดเลือดด้า เช่น
D5W ,NSS
-ดูแลให้รับประทานอาหารที่มี
แคลเซียมสูง เช่น นม เนย
แมกนีเซียม
(magnesium, Mg)
แมกนีเซียมจะท้าหน้าที่เป็นโคแฟคเตอร์ ของเอนไซม์ต่าง ๆ
ภายในร่่างกายเพื่อที่จะท้าหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์
ภาวะที่ร่างงกายมีระดับของแมกนีเซียมต ่ำ
(hypomagnesemia)
Mg < 1.5 mEq/L
สาเหตุ เกิดจาก
-การที่ได้รับสารอาหารที่มีMg น้อยไปหรือมีการสูญเสีย Mg
ทางไตมากเกิน
-การได้รับยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ
-ภาวะทุพโภชนาการ
-เกิดจากภาวะ alcoholism
อาการ
หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
การรักษาภาวะที่ร่างกายมีระดับของ
แมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemia)
-ให้รับประทาน Magnesium oxide
-ให้ 50% Mg2SO4(Magnesium sulfate) ผสมใน
D5W
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน
(hypermagnesemia)
Mg > 2.5 mEq/L
สาเหตุ อาจเกิดจาก
-การที่ไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
-ผู้ป่วยโรคไต
อาการ
-ระบบประสาท มีการกดการทำงานของระบบประสาท ท้าให้
เกิดอาการทางระบบประสาทง่วงซึม ระดับความรู้สึกตัว
-กล้ามเนื้อ่อนแรง
-ระบบไหลเวียนเลือด ความดันเลือดต่้า
-ระบบหายใจ หายใจล้าบาก หายใจช้า
-ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
หลักการพยาบาล
-ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
-ประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ
-ประเมินการหายใจ
-ประเมินอาการทางระบบประสาท
-ติดตามผลlab
ฟอสฟอรัส (Phosphorus)
หน้าที่ส้าคัญของฟอสฟอรัส
-เป็นแหล่งส้ารองพลังงานของเซลล์ต่างๆ
-เกี่ยวข้องกับกลไกการสร้างพลังงานโดย ช่วยปล่อยโมเลกุลของ
ออกซิเจนจากฮีโมโกลบิน
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่้า (hypophatemia)
สาเหตุ-การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
-การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง
-ไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะ การได้รับยาขับปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
-ระบบประสาทส่วนกลาง อ่อนเพลีย
-ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การรักษา
-ให้รับประทานอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ ไต
-ให้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบทาง
หลอดเลือดด้าช้าๆ เช่น โซเดียมฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (hyperphosphatemia)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับฟอสเฟตในเลือด > 5.0 mg/dl
สาเหตุ
-ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง ไตวายเรื อรัง
-การได้รับฟอสฟอรัสมากๆ
อาการ
-เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟต
-กล้ามเนื้อเหน็บชา
หัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่้า ช็อก
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphatemia)
1.การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลัน
-ให้สารน ้า เช่น NSS , D5N
-ให้กลุโคสและอินซูลิน
-การล้างไต
2 การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง