Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล - Coggle Diagram
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
สาเหตุ
การที่มีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น
ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึึ้น มะเร็ง ภาวะด่างจากการเผาผลาญ(metabolic alkalosis) ได้รับสารอาหารที่มีปริมาณของ K น้อยเกินไป
ไม่รับประทานผักและผลไม้ โดยเฉพาะกล้วยและส้ม มีการสูญเสียจากการอาเจียนมากๆมีอาการถ่ายเหลว
•การเสียเลือด
อาการ ของภาวะ K ต่ำ
กล้ามเนื้อกล้ามเนื ออ่อนแรง ถ้าเป็นมากจะเป็นอัมพาต แบบเปลี่ยน
(Flaccid paralysis) เป็นตะคริว เฉื่อยชา ซึม ง่วงนอน รีเฟล็กซ์ลดลง
หัวใจ หัวใจเต้นไม่สม่้าเสมอ ชีพจรเบา ความดันเลือดต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า
หายใจ หายใจตื่น หายใจวายและหยุดหายใจเพราะกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต
ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด เสียงลำไส้เคลื่อนไหวลดลงและหยุดในเวลาต่อมา
การรักษา
ทดแทน K 1.1. ในรูปยาฉีด (intravenous infusion) ที่นิยมใช้คือโปแตสเซียมคลอไรด์ (KCl) โปแตสเซียมไดฟอสเฟต (K2HPO4) มักใช้ในกรณีที่
ผู้ป่วยขาดเกลือฟอสเฟตร่วมด้วย. 2. ในรูปยากิน
2.1 Elixir KCl 2.2 โปแตสเซียมซิเตรต (potassium citrate) มักใช้ในรายที่มีภาวะเลือดมี
ความเป็นกรดร่วมด้วย
แก้ไขสาเหตุ พยายามให้อาหาร
ที่มีปริมาณของ K มากพอ เช่น ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท มัน
ฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม 3. ติดตาม EKG
หลักการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
สังเกตอาการอ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน บันทึกสัญญาณชีพ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง
บันทึกI/O ดูแลให้สารน้ำที่มีการผสมโปแตสเซียมเข้าทางหลอดเลือดดำในกรณีที่ขาดรุนแรง
(hyperkalemia)
สาเหตุ
ได้รับเพิ่มขึ้นเช่น ได้รับโปแตสเซียมมากไป ได้เลือดเก่าใกล้หมดอายุเพราะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย (Hemolysis) และปล่อยโปแตสเซียมออกมา 2. ลดการขับออก เช่น ไตวายเฉียบพลันหรือเรื อรัง ,Addison’s
disease 3. โปแตสเซียมออกจากเซลล์มากขึ น เช่น มีการย้ายออกนอกเซลล์จาก
ภาวะ Metabolic acidosis ,ขาดอินซูลิน
อาการภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง
-หัวใจ มีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีต่อมาเต้นช้ากว่าปกติสุดท้ายหัวใจจะหยุดเต้น ท้าให้เลือดที่ไปเลี้ยงลดลง ความดันโลหิตลดลง -กล้ามเนื้อ ชาและอ่อนแรงและเป็นอัมพาต -การหายใจ เกิดภาวะขาดออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง -ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ ท้องเดิน เสียงลำไส้เคลื่อนไหว
เพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นตะคริว
การรักษา
ให้ 50% glucose ผสมกับ regular
insulin ทางหลอดเลือดดำเพื่อเร่งการน้ำ K เข้าเซลล์ ให้Kayexalate การให้ละลายใน
20% sorbital จะทำให้มีการเร่งขับ K ออกทางอุจจาระ (กิน สวน feed ) ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น furosemide,
thiazide
หลักการพยาบาล
เพื่มการขับเอาโปแตสเซียมออกจากร่างกาย
-เช่นการให้ดื่มน้ำมาก ๆ
-การให้ยาขับปัสสาวะ
การให้ยา Kayexalate หรือKalimate ทางการสวนหรือ
การรับประทาน
-การให้ 50% glucose ผสมกับ regular insulin ทาง
หลอดเลือดดำ
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียม
เกิน (hypercalcemia)
สาเหตุ
ภาวะที่เกิดมะเร็ง ภาวะที่ได้รับวิตามินดีมากเกินไป การได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ท้าให้มีการดูดกลับ
ของแคลเซียมมาก
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว ปริมาณปัสสาวะเพิ่มขึ้น ปัสสาวะบ่อย ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้าการตอบสนองต่อรีเฟล็กซ์ลดลงหรือไม่มี กล้ามเนื ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษาภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน
ให้น้ำเกลือและยาขับปัสสาวะ เพื่อที่จะขับแคลเซียมทิ้ง หากไม่ได้ผลหรือผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจหรือไตอาจจะต้องพิจารณาให้การฟอกเลือด (hemodialysis) เพื่อที่จะขับCa ออกจาก ร่างกาย ติดตามการทำงานของกล้ามเนื้ อหัวใจ ให้ยา corticosteroid เพื่อไปแย่งจับกับ vitamin D ทำ ให้ลดการดูดซึม Ca ควบคุมอาหาร อาหารที่มีระดับของแคลเซียมสูง
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ( EKG ) ประเมินอาการทางระบบประสาท (Neuro signs)
ประเมินการเคลื่อนไหวของล้าไส้ (Bowel signs)
กระตุ้นให้มีการดื่มน้ำมาก ๆ
ติดตามผล labให้อาการที่มีกากใยสูงเพื่อป้องกันภาวะท้องผูก
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ
(hypocalcemia)
สาเหตุ
มีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลง ให้เลือดที่การเก็บไว้นาน ภาวะ albumin ในเลือดต่ำ การเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบ ภาวะเครียด ภาวะไตวายจะมี ระดับของฟอสเฟตสูงทำให้ไปจับกับแคลเซียมหมด ภาวะ cushing’s syndrome
อาการ
จะมีการชา ตามนิวมือนิวเท้า มือจีบ (trousseau’s sign)
และริมฝีปากเกร็งกระตุก(tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว
มีผลต่อระบบหัวใจ หัวใจบีบตัวลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำ
ระบบหายใจ การเกร็งของกล้ามเนื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่การเกร็งของกล่องเสียง หายใจมีเสียงดัง และหายใจลำบาก
ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ลำไส้หยุดทำงาน
กระดูก มีภาวะกระดูกหักได้ง่าย
ค่าการแข็งตัวของเลือดนานขึ้น (prolong bleeding time)
อ่อนเพลีย วิตกกังวล กระสับกระส่าย สับสน ชัก
การรักษา
การให้แคลเซียมทดแทน ได้แก่ 10%
แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมคลอไรด์
ดูแลเรื่องการหายใจ
ติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ มีการให้วิตามินดีและเกลือแคลเซียมและอาหารที่มีฟอสเฟตต่ำ
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ
(hypomagnesemia)
สาเหตุ
การที่ได้รับสารอาหารที่มีMg น้อยไปหรือมีการสูญเสีย Mgทางไตมากเกิน การได้รับยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาในกลุ่มaminoglycoside, amphotericin B, Digitalis ภาวะทุพโภชนาการ เกิดจากภาวะ alcoholism
อาการ
นอนไม่หลับ มองเห็นภาพหลอน กระสับกระส่าย สับสน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง กล้ามเนื้อบิด เกร็ง กล้ามเนื้อสั่น ชา หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง หายใจล้าบาก เนื่องจากกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็ง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ท้องอืด
การรักษา
ให้ 50% Mg2SO4 (Magnesium sulfate) ผสมใน
D5W
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน
(hypermagnesemia)
สาเหตุ Mg > 2.5 mEq/L
การที่ไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพ การให้Mg ใน หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคไต
อาการ
ระบบประสาท มีการกดการทำงานของระบบประสาท ทำให้เกิดอาการทางระบบประสาทง่วงซึม ระดับความรู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบไหลเวียนเลือด ความดันเลือดต่ำ หลอดเลือดส่วนปลาย
ขยาย หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ ระบบหายใจ หายใจล้าบาก หายใจช้า เนื่องจากกล้ามเนื้อ
หายใจเป็นอัมพาต ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
-หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขับแมกนีเซียมทิ้งทางปัสสาวะ -งดยา ยาที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบ -ดูแลเรื่องการหายใจ -ติดตามการท้างานของกล้ามเนื้อหัวใจ -หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแมกนีเซียมมาก เช่น อาหารทะเลธัญพืช และจมูกข้าวสาลี
หลักการพยาบาล
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ
ประเมินการหายใจ
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ติดตามผลlab
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ
(hypophatemia)แมกนีเซียมต่ำ
สาเหตุ
การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย การขาดอาหาร การอดอาหาร -การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง ได้แก่ การขาด
วิตามินดี การได้รับยาอะลูมิเนียม และแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบ จึงท้าให้กลไกการดูดซึมฟอสฟอรัสเข้าสู่ร่างกายถูกขัดขวาง -ไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะ การได้รับยาขับปัสสาวะ -การติดสุรา
อาการและอาการแสดง
-ระบบประสาทส่วนกลาง อ่อนเพลีย อิดโรย สับสน ชัก และไม่รู้สึกตัว
-ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อสั่น ชาปวดกระดูก กระดูกเปราะหักง่าย และข้อติด
-ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ซีด เกร็ดเลือดทำงานผิดปกติ
-ระบบหายใจ หายใจเร็วตื้น
-ระบบทางเดินอาหาร - เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ตับทำงานผิดปกติ
การรักษา
ให้รับประทานอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ให้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบทาง
หลอดเลือดดำช้าๆ เช่น โซเดียมฟอสเฟตและ โปแตสเซียมฟอสเฟต
ให้รับประทานหรือสวนทวารด้วยยาที่มี
ฟอสเฟต โพแทสเซียมฟอสเฟต
ยาและสารเคมีที่มีผลกับระดับฟอสเฟตในเลือด
อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ อะลุมิเนียมคลอไรด์ ยาที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ >> แคลเซียมคาร์บอเนต
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์>> เพรดนิโซโลน คอร์ติโซน
ยาขับปัสสาวะ
กลูโคสและอินซูลิน
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
(hyperphosphatemia)
สาเหตุ
-ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง ไตวายเรื้อรัง
-การได้รับฟอสฟอรัสมากๆ เช่น การได้รับยาหรือสารเคมีที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ เช่น ยาระบาย ยาสวนอุจจาระ ยาลดกรด
-การได้รับยา สารน้ำหรือเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ที่ใช้กรดซิเตรทเด็กซ์โทรส เพื่อต้านการแข็งตัวของเลือด
-การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น
อาการ
-เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟตที่ผิวหนังและหลอดเลือด
ส่วนปลาย และที่ตาทำให้เกิดการระคายเคืองและอักเสบ
-กล้ามเนื้อ เหน็บชา กระตุกของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ปวดกล้ามเนื้อ
-หัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำช็อก
-ระบบทางเดินหายใจ น้ำท่วมปอด หายใจลำบาก
-ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหารรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ล้าไส้ไม่เคลื่อนไหว
-ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูง
1.การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลัน ให้สารน้ำ เช่น NSS , D5N ทางหลอดเลือดดำ เพื่อ
เพิ่มการขับฟอสเฟตส่วนเกินออกจากร่างกายทางปัสสาวะ ให้กลุโคสและอินซูลิน เพื่อเพิ่มการเคลื่อนย้ายฟอสเฟตเข้าสู่เซลล์
2 การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง
-งดการใช้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ
-ให้รับประทานยาที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ
-ให้ยาขับปัสสาวะ
-การล้างไต