Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหาระบบผิวหนัง, image, image, image, image, image…
การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีปัญหาระบบผิวหนัง
โรคสะเก็ดเงิน
สาเหตุ พันธุกรรม ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ปัจจัยกระตุ้นภายนอก
ชนิดของสะเก็ดเงิน
ชนิดผื่นหนา (Plaque psoriasis) เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด รอยโรคเป็นผื่นแดงหนา
ชนิดผื่นขนาดเล็ก (Guttate psoriasis) รอยโรคเป็นตุ่มแดงเล็กคล้ายหยดน้ำขนาดเล็กไม่เกิน 1 เซนติเมตร มีขุย
ชนิดตุ่มหนอง (Pustular psoriasis) รอยโรคเป็นตุ่มหนองกระจายบนผิวหนังที่มีการอักเสบแดง
ชนิดผื่นแดงลอกทั่วตัว (Erythrodermic psoriasis) เป็นสะเก็ดเงินชนิดรุนแรง ผิวหนังมีลักษณะแดงและมีขุยลอก
สะเก็ดเงินบริเวณซอกพับ (Inverse psoriasis) เป็นโรคสะเก็ดเงินที่มีรอยโรคในบริเวณซอกพับของร่างกาย
สะเก็ดเงินบริเวณมือเท้า (Palmoplantar psoriasis) เป็นโรคสะเก็ดเงินบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า
การรักษา
สะเก็ดเงินความรุนแรงน้อย ให้การรักษาโดยใช้ยาทาเป็นอันดับแรก
สะเก็ดเงินความรุนแรงมาก ใช้ยารับประทานหรือฉายแสงอาทิตย์เทียม หรืออาจใช้ร่วมกันระหว่างยารับประทาน
ยาทาภายนอก ยาทาคอติโคสเตียรอยด์ (topical corticosteroids) ,น้ำมันดิน (tar) แอนทราลิน (anthralin, dithranol) อนุพันธ์วิตามิน D (calipotriol) ยาทากลุ่ม calcineurin inhibitor (tacrolimus,pimecrolimus)
ยารับประทาน เมทโทเทรกเสท (methotrexate) อาซิเทรติน (acitretin) ไซโคลสปอริน (cyclosporin)
สะเก็ดเงินเป็นโรคไม่ติดต่อ ผู้ป่วยจะไม่ถูกรังเกียจจากคนรอบข้าง ญาติและคนใกล้ชิดควรเข้าใจและให้กำลังใจผู้ป่วย
เนื่องจากโรคสะเก็ดเงินเป็นโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยควรดูแลปฏิบัติตนให้ถูกต้องจะช่วยควบคุมโรคให้สงบได้ ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นซึ่งได้แก่ ความเครียด การพักผ่อนน้อย
Fasciitis
Necrotizing fasciitis
ชนิดที่ 1 Mixed Aerobic and Anaerobic infections เป็นชนิดที่พบได้บ่อยประมาณร้อยละ 80 มักพบในผู้ป่วยกลุ่มที่ภูมิคุ้มกันต่ำเช่นเบาหวานโรคตับ
ชนิดที่ 2Group A Streptococcus Species พบว่าเชื้อ Vibrio Vulnificus มักพบในผู้ป่วยที่บาดเจ็บจากสัตว์ทะเลหรือสัตว์น้ำโดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคตับ
erythema multiforme
มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา และเยื่อบุก่อน จากนั้นจะลามไปที่ลำตัว บริเวณเยื่อบุต่างๆจะมีอาการมากกว่า โดยพบมีแผลที่เยื่อบุตา ช่องปากจมูก อวัยวะเพศ
อาการ
ไข้
รู้สึกไม่สบายตัว
คันตามผิวหนัง
ปวดข้อ
มีผื่นขึ้นซึ่งมีได้หลายรูปแบบ เป็นผื่นแดงตุ่มเล็กๆ
รักษาผื่นแพ้ยา Erythema Multiforme
ค้นหาสาเหตุและรักษาต้นเหตุ เช่นการหยุดยาที่แพ้ หรือรักษาโรคติดเชื้อ
บริเวณที่เป็นตุ่มน้ำให้ทำความสะอาดและทำแผล
รับประทานยาแก้แพ้เช่น chlorpheniramine 4 mgวันละ 4 ครั้ง
ในรายที่เป็นรุนแรงแพทย์จะรับตัวไว้รักษา และให้ยา steroid
Fungal Infection เชื้อรา
tinea infections
Tinea Capitis
าจมีอาการคันคล้ายรังแค และบริเวณหนังศีรษะจะตกสะเก็ดเป็นจุด รู้สึกเจ็บเมื่อสัมผัสไปโดน คันหนังศีรษะ ผมร่วงเป็นหย่อม
Tinea faciei
พบว่าผู้ป่วยด้วยโรคนี้ จะมีพฤติกรรมการเกา แกะ ใบหน้าโดยการใช้มือและเล็บที่ไม่สะอาด เล็บติดเชื้อรา หรือมีพฤติกรรมชอบสัมผัสสัตว์เลี้ยงโดยตรง ให้สัตว์เลียใบหน้า
Tinea Barbae หรือ Barber’s Itch
บในเพศชายมากกว่าเพศหญิงอาการที่พบส่วนมากเกิดบริเวณรูขุมขนที่เกิดเส้นขน หนวด เครา บนใบหน้า
Tinea manuum
โรคกลากบริเวณมือ ส่วนมากมักจะพบผื่นบริเวณมือข้างใดข้างหนึ่ง มากกว่าที่จะพบพร้อมกันทั้งสองข้าง อาการผื่นจะไม่ชัดเจน มือแห้ง
การวินิจฉัย
การขูด scale มาย้อม KOH และการเพาะเชื้อ
Herpes simplex
อาการปวดแสบปวดร้อนต่อมาจะมีอาการบวม และอีก 2-3 วัน จะ มีตุ่ทน้้าใสเกิดบนฐานสีแดง ตุ่มน้้าแตกออกใน 24 ชั่วโมง และตกสะเก็ด
ชื้อไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์
Herpes Simplex Virus type 1: HSV-1
Herpes Simplex Virus type 2: HSV-2
การรักษา
การบรรเทาอาการเจ็บปวด โดยแพทย์อาจสั่งยาบรรเทาอาการปวด ซึ่งแผลจากโรคเริมจะสามารถหายเองได้ภายในเวลา 2-6 สัปดาห์
ควบคุมการแพร่กระจายของไวรัส โดยปกติแล้วเมื่อมีอาการของโรคเริม แพทย์มักจะสั่งใช้ยาอะไซโคลเวียร์ (Acyclovir) หรือยาวาลาไซโคลเวียร์ (Valacyclovir)
Herpes Zoster
อาการ
โดยทั่วไปอาการปวดจะเกิดขึ้น 4 – 6 วันก่อนที่ผื่นจะปรากฏ
• จะเป็นอาการปวดแสบร้อน ชาหรือ รู้สึกปวดเสียวคล้ายหนามแทง และไวต่อสิ่งกระตุ้น
• ผู้ป่วยอาจมีไข้ รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
การรักษา
การให้ยาฆ่าเชื้อไวรัส ยาแก้ปวด และรักษาตามอาการ โดยปรึกษาแพทย์
โรคงูสวัดเกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (varicella-zoster virus)
Chickenpox
มีไข้ต่ำๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และมีผื่นขึ้นเริ่มจากลำตัว ใปหน้า และลามไปแขนขา ผื่นจะขึ้นบริเวณลำตัวมากกว่าแขนขา อาจพบตุ่มในช่องปากและเยื่อบุต่างๆ
ระยะไข้ ประมาณ 1-2 วัน ไม่ว่าจะเป็นไข้สูงหรือต่ำ มีอาการปวดหัว ปวดเมื่อยตามตัวและปวดกล้ามเนื้อ
ระยะผื่นขึ้น จะขึ้นเป็นผื่นแดงเม็ดเล็ก ๆ ต่อมากลายเป็นเม็ดใส และเพิ่มปริมาณมากขึ้นภายใน 3 - 5 วัน พบผื่นบริเวณลำตัวก่อนลามไปคอ ใบหน้า ศีรษะ แขน ขา ทั่วลำตัว
ระยะตกสะเก็ด ภายใน 1 - 3 วัน สะเก็ดแผลจะค่อย ๆ ลอก จางหายไปประมาณ 2 สัปดาห์