Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง -…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
เนื้อหา
Fluid volume deficit/excess
Hypo/Hypernatremia
Hypo/Hyperkalemia
Hypo/Hypermagnesemia
Hypo/Hyperphosphatemia
Hypo/Hypercalcemia
สารน้ำ (fluid)
สารน้ำ (fluid) ในร่างกาย หมายถึง น้ำและ
สารประกอบ ท่ีละลายอยู่ในน้ำ ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์ ทังประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน
น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของสารน้ำในร่างกาย
หน้าท่ีของสารน้ำในร่างกาย
1.ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื้นต่อเนื้อเยื่อ ของร่างกาย เช่น ปาก ตา จมูก
3.หล่อลื่นข้อและป้องกนัอวยัวะภายใน
4.ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขับของเสียผ่านทางไต
5.ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้ำอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนือเยื่อ
[น้ำในร่างกาย]
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 % ได้แก่ น้ำที่ อยู่ในช่องว่างเซลล์ในหลอดเลือดใน เนื้อเยื่อ เกี่ยวพันในกระดกู และในช่องว่างต่างๆ เช่น ในเข่า ข้อนิวและน้ำไขสันหลัง
น้ำภายในเซลลม์ มีประมาณ 60%
ในร่างกายของเรามีน้ำเป็นองค์ ประกอบประมาณ 60%ของน้ำหนักตัวโดยปริมาณจะมากหรือ น้อย ขึ้นอยู่ กับ อายุ เพศ ปริมาณไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้ำ เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum) เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำ ร้อยละ 1-2 ท้าให้เซลล์ขาดน้าเล็กน้อย นิวรอน (Neuron) ในไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นศูนย์ กระหายน้ำจะตอบสนองต่อการขาดน้ำ และส่งกระแสประสาทกระตุ้นไปยัง สมองใหญ่ ท้าให้รู้สึกกระหายน้ำ
Antidiuretic hormone (ADH) ถูกสร้างจากต่อมใต้ สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการ กระตุ้นการหลั่ง ADH เช่นกัน โดย ADH ท้าหน้าท่ี ส่งเสริมการดูดน้ำกลับท่ีท่อไตส่วนปลาย (Distal tubules) และท่อรวม (Collecting duct) ทำให้จไรวนปัสสาวะ ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ้น และปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
[Aldosterone เป็นฮอร์โมนท่ีทดหน้าท่ี ร่วมกับ ADHเพื่อ ควบคุมน้ำในร่างกาย aldosterone ถูกหลั่งจากAdrenal cortex จะหลั่งเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาตรของพลาสมาลดลง โซเดียม ในพลาสมาลดลงหรือมีความเครียด ทำให้มีการดูดกลับของของ โซเดียมและดึงน้ำกลับตามไปด้วย
การมีโซเดียมในพลาสมาสูง ยังกระตุ้นศูนย์กระหายน้ด ส่งผลให้ ดื่มน้ำมากขึ้นและปริมาตรของน้ำภายนอกเซลล์ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
การประเมินสมดุล ของเหลว
•การซักประวัติ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติ
•การตรวจร่างกาย
ต้องดูว่าผู้ป่วยมีโรคหรืออาการบาดเจ็บที่ส่งผลต่อสมดุล ของเหลวหรือไม่ เช่น การเป็นโรคตับ เบาหวาน ผู้ป่วยได้รับ ยาท่ีมีผลต่อระดับของเหลวในร่างกาย ผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอ หรือ ปริมาณที่ได้รับกับที่ออกเท่ากันหรือไม
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า การขาดน้ำอย่างรุนแรงจะส่งผลทำให้ตาลึกโหล สีหน้าอ่อนระโหย เยื่อบุภายในปาก แห้ง กระหายน้ำ ผิวหนังซีด เย็น ผิวหนังตั้งได้ (skin tergore) มีอาการบวม (edema)
สัญญาณชีพ มีอุณหภูมิกายขึ้นสูง ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก ความดัน โลหิตลดต่ำลง
3.ปริมาณปัสสาวะและความเข้นข้นปริมาณปัสสาวะลดลงเนื่องจากมีปริมาณ ของฮอร์โมน antidiuretic เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณของน้ำปัสสาวะลดลงจะทำ ให้มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้น
ภาวะไม่สมดลุของสารน้ำ (fluidhomeostasis)
1.ความผิดปกตขิองส่วนประกอบหรือปรมาตรของสารน้ำ
2.ความผิดปกติที่เกี่ยวกับการไหลเวียนภาวะเสียสมดุลของน้ำ และอิเลคโทรลัยท์ ท่ีสำคัญ ได้แก่
การเสียสมดุลปริมาตรและความเข้ม ข้น เช่น ภาวะขาดน้ำ ภาวะ บวม
ภาวะเสียสมดลุ อิเลคโทรลัยท์ เช่น การเสียสมดุล Na - K การเสียสมดุลของภาวะ กรด - ด่าง
ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemia, Fluid volume deficit) คือ ภาวะที่มีปริมาณน้ำในร่างกายน้อยกว่า ปกติ มีความผิดปกติของโซเดียม ECF น้อยกว่าปกติ น้ำน้อย กว่าตัวถูกละลายเกิดภาวะ hyperosmolar
ภาวะขาดน้ำ
(dehydration, hypovolemia, Fluid volume deficit)
สาเหตุ
primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้ำดื่ม หรือ เกิดการบาดเจ็บรุนแรง หมดสติ
secondary dehydration เกิดจากการเสียน้ๆที่มีการเสียอิเลคโทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม เช่น การเกิดการอาเจียน ท้องร่วง หรือมีการขับปัสสาวะออกมาก
อาการ
ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้ำลาย ริมฝีปากแห้งน้ำหนักลด หัวใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
เมื่อขาดน้ำมากกว่าร้อยละ 7 จะทำให้ความดันลดต่้าลง ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เพ้อ สับสนตาลึกโบ๋ ประสาทหลอน เส้นเลือดที่คอฝ่อ Hct เพิ่มขึน มีอาการ อ่อนเพลียไม่มีแรง ลินแตก อุณหภูมิกายเพิ่มสูงขึน กล้ามเนือเป็นตะคริว มี ความดันต่้าเวลาเปลี่ยนท่า (postural hypotension) ปัสสาวะออกน้อย กว่า 30 cc/hr
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
urine sp. gr. >1.030
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึน Na > 150mEq/L
Hct > 45%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ภาวะน้ำเกิน
(hypervolemia)
ภาวะน้ำเกิน(hypervolemia) หรือ water intoxication เป็น ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า 60% ของน้ำหนักตัว ECF มากกว่าปกติ จะมีอาการบวม (edema)
สาเหตุ
การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป
ได้รับยา corticosteroid
มีการอุดกันของทางเดินปัสสาวะ
มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ
pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจลำบาก ไอมาก
congestive heart failure
neck vein engorged
น้ำหนักเพิ่มมากขึน อาจมีอาการชัก
ข้อวินิจฉยัทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะน้ดเกินเนื่องจากไตวายเรือรัง/โปรตีนใน เลือดต่ำ/ไตสูญเสียหน้าที่
• ได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของ ร่างกายเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน
• เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
กราพยาบาลผู้ป่วยภาวะเกิน
hypervolemia
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว
•ดูแลให้ยาขบัปสัสาวะ
• บันทึกปริมาณน้ำเข้า ออก (I/O)
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ(LAB)
•จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สขุสบายหายใจได้สะดวก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดนา้
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว ระดับความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
สาเหตุ
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ
มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability
อาการ
น้พหนักขึ้น ร้อยละ 5
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื้น แดง
ชีพจรแรง หายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
การตรวจร่างกาย
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดท่ีคอโป่ง ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉยัทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรือรัง/ไตสูญเสียหน้าที่
• เสี่ยงต่อภาวะน้าเกินเนื่องจากโปรตีนในเลือดต่ำ
• ได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะบวม(edema)
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
• ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน้ำเกิน •
จัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler’s position
Electrolyte
อิเลคโทรลยั ท์ (Electrolyte) หมายถึง สารท่ีแตกตัวเป็น ไอออนได้ ในร่างกายแบ่งสารอิเลคโทรลัยท์ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มท่ีมีประจุบวก ท่ีเรียกว่า cations ประกอบไปด้วย sodium, potassium, calcium, magnesium
sodium, potassium, calcium, magnesium
สารท่ีมีประจลุ บ ท่ีเรียกว่า anions ได้แก่ chloride, phosphorus, bicarbonate
โซเดียม
(sodium, Na)
โซเดียมเป็นอิเลคโทรลยัท์ที่มมีากที่สุดในร่างกาย
ค่าปกติ 135-145 mEq/L
ปริมาณของโซเดียมที่ร่างกายได้รับการบันทึกภา
อาหารที่ รับประทาน ในคนปกตติอ้งการไดร้บัเกลอืใหญ่ขนาด2กรัม/วน
ภาวะที่มีระดับของโซเดยีมต่ำ
(hyponatremia)
Na < 135 mEq/L สาเหตุ เกิดจาก
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
แคลเซียม (calcium, Ca)
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกระดูกของร่างกาย ช่วยในการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อทุก ชนิดโดยแคลเซียมจะไปจับกับ
โทรโปนินแล้วกระตุ้นให้เกิดการหดตัวต่อไป ช่วยในการคัดหลงั่ฮอร์โมน ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
กำหนดศักย์ไฟฟ้าของเซลล์หัวใจบทบาทส้าคัญของแคลเซียมต่อ กล้ามเนือหัวใจ คือช่วยให้กลา้ มเนือมีการบีบตัวที่ดี การที่มีระดับ ของแคลเซียมลดต่้าลงท้าให้หัวใจบีบตัวน้อยลง