Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อ ระยะเฉียบพลัน และเรื้อรัง,…
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อ ระยะเฉียบพลัน และเรื้อรัง
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ
สร้างฮอร์โมน ที่ควบคุมอารมณ์ การเจริญเติบโต การเผาผลาญ การเจริญพันธุ์
ต่อมไร้ท่อจะทำหน้าที่ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมนออกมา
ต่อมไร้ท่อจะส่งฮอร์โมนจะไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับกระแสเลือด
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM)
โรคเบาหวานชนิดที่ 1
พบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยส่วนใหญ่น้อยกว่า 30 ปี มักผอม ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน ถ้าขาดอินซูลินจะเกิดภาวะหมดสติจากน้ำตาลสูงและกรดคีโตนคั่งในเลือด ในประเทศไทยพบผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ร้อยละ 3.4
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 พบมากถึงประมาณร้อยละ 95-97 ของผู้เป็นเบาหวานในประเทศไทย ผู้เป็นส่วนใหญ่มักอ้วน อายุมากกว่า 40 ปี ตับอ่อนยังพอผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ในระยะแรกอาจรักษาได้ด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดลดระดับน้ำตาล แต่เมื่อเป็นเวลานานๆ ในบางรายมีเบต้าเซลล์เสื่อม ทำให้ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีอาจจำต้องฉีดอินซูลิน
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) หมายถึง ภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 60 มก. /ดล.
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแต่ไม่พบกรดคีโตนคั่ง คือ ภาวะนี้พบได้ในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
กระหายน้ำมาก คลื่นไส้ ปัสสาวะบ่อยและมากผิดปกติโดยเฉพาะเวลากลางคืน
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้ำหนักลด
ตาพร่ามัว
ซึม อาจถึงขั้นหมดสติ หรือมีการชักกระตุกเฉพาะที่
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงและมีกรดคีโตนคั่ง คือ ภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียนมาก
ปัสสาวะบ่อย
ลมหายใจมีกลิ่นเหมือนผลไม้ หายใจเหนื่อยหอบลึก อาจช็อคหมดสติ
อินซูลิน
ออกฤทธิ์เร็ว Rapid acting หรืออินซูลินน้ำใส
Short acting insulinได้แก่ Regular insulin
ออกฤทธิ์ปานกลาง Intermediate-Acting Insulin หรือชนิดน้ำขุ่น
NPH insulin [neutral protamine hagedorn insulin]
Lente insulin
ยารักษาโรคเบาหวาน
กลุ่มที่ออกฤทธิ์ทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemic drugs)
ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย (Sulfonylureas): เช่นยา อะซีโตเฮกซาไมด์ (Acetohexamide), คลอร์โพรพาไมด์ (Chlorpropamide), โทลาซาไมด์ (Tolazamide), ไกลเมพิไรด์ (Glimepiride), ไกลพิไซด์ (Glipizide), ไกลเบนคลาไมด์ (Glibenclamide) หรือ อีกชื่อคือ ไกลบูไรด์ (Glyburide)
ออกฤทธ์ต้านการเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด (Antihyper glycemic drugs)
ยากลุ่มไบกัวไนด์ (Biguanides): เช่นยา เมทฟอร์มิน (Metformin)
การรักษา
บริโภคอาหารที่มีกากใยสูง
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกายช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
การใช้ยาจะเป็นลำดับสุดท้ายในการรักษาเบาหวาน
ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland)
กลุ่มโรคต่อมไทรอยด์โตแบบเป็นพิษ หรือทำงานมากเกินไป( Hyperthyroidism)
อาการ
เหนื่อย ใจสั่น ขี้ร้อน น้ำหนักลด เหงื่อออกเยอะ ประจำเดือนน้อยลง ผิวหนังเป็นปื้นหน้าขรุขระ บางรายตาโปน บางรายมีอาการแขนขาอ่อนแรง
การรักษา
การกินยาต้านไทรอยด์
การกลืนน้ำแร่ไอโอดีน
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์
โรคต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยเกินไป(Hypothyroidism)
อาการ
ความคิดช้า เฉื่อยชา ง่วงนอน น้ำหนักขึ้น ขี้หนาว ผมร่วง ผิวแห้งหยาบ ตัวบวม หน้าบวม เป็นตะคริวบ่อย ท้องผูก
การรักษาโดยการรับประทานยาที่เป็นไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งมักต้องรับประทานตลอดชีวิต
เนื้องอกต่อมหมวกไต
ภาวะ Primary Hyperaldosteronism (Conn’s syndrome)
โรคคุชชิง (Cushing's syndrome)
เนื้องอกต่อมหมวกไตชนิด Pheochromocytoma
การรักษา(Treatment)
perioperative medical management
การผ่าตัด ในปัจจุบันการผ่าตัดผ่านกล้อง( laparoscopic adrenalectomy) ได้รับการยอมรับว่าเป็นการผ่าตัดมาตรฐาน(gold standard) โดยมีโอกาสที่ต้องเปลี่ยนมาเปิดผ่าตัดแผลใหญ่น้อยกว่า 5% และให้ผลการรักษาที่ดีกว่าการผ่าตัดด้วยวิธี open adrrnalectomy ทั้งในแง่ของการมีแผลผ่าตัดขนาดเล็ก ลดอัตราการตาย ย่นระยะเวลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
การฉายแสงรังสีรักษามักใช้กับผู้ป่วยที่มีการแพร่กระจายไปที่กระดูก
ต่อมหมวกไต adrenal gland
addison's disease
Adrenocorticosteroid =ACTH
,Cortisol level ลดลง
cushing syndrome
Adrenocorticosteroid =ACTH
,Cortisol level เพิม ขึ้น
ภาวะที่ adrenal cortex ทำงานน้อยลง
มีการหลั่ง mineralcorticoid, glucocorticoid และ sex hormone ลดลง