Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ผิวหนัง structure_1 -…
:star: บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ผิวหนัง
:red_flag: โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย พบโรคนี้ได้ประมาณร้อยละ 1-2 ของประชากรปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดทราบเพียงว่าเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน ได้แก่
-
-
-
:<3: ท้าให้มีผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินมีการแบ่งตัวของเซลผิวหนังเร็วผิดปกติ โรคสะเก็ดเงินไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะทางผิวหนัง แต่อาจพบมีสัมพันธ์กับโรคอื่นๆได้แก่ โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน และกลุ่ม metabolic syndrome ได้แก่ โรคอ้วน
:star:Steven Johnson disease Stevens-Johnson Syndrome (กลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสัน) คือความผิดปกติของผิวหนังและเยื่อเมือกบุผิวชนิดรุนแรงที่พบได้ไม่บ่อย โดยอาจเกิดจากการติดเชื้อหรือการตอบสนองของร่างกายต่อยาบางชนิด ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ตามมาด้วยผื่นแดงที่ทำให้รู้สึกเจ็บปวด จากนั้นผื่นจะค่อย ๆ ลุกลามและกลายเป็นแผลพุพองในที่สุด อาการของกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันในระยะแรกผู้ป่วยอาจมีไข้และหนาวสั่น ร่วมกับมีอาการไอ เจ็บคอ ปวดหัว ปวดตามร่างกาย แสบตา หรือรู้สึกอ่อนเพลีย จากนั้นภายใน 2-3 วันหรือไม่เกิน 2 สัปดาห์ความผิดปกติทางผิวหนังจึงเริ่มปรากฏ สังเกตได้ดังนี้รู้สึกเจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุเกิดผื่นแดงที่ตรงกลางมีสีเข้มและรอบข้างมีสีจาง จากนั้นผื่นจะค่อย ๆ ลุกลามและเพิ่มจำนวนขึ้นเกิดแผลพุพองตามผิวหนังและเยื่อเมือกบุผิวบริเวณริมฝีปาก ช่องปาก จมูก ตา และอวัยวะเพศผิวหนังชั้นนอกหลุดลอก เผยให้เห็นผิวด้านในที่มีลักษณะคล้ายผิวไหม้
สาเหตุของกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันปัจจุบันแพทย์ยังไม่ทราบสาเหตุของ Stevens Johnson Syndrome อย่างแน่ชัด แต่เชื่อว่าการติดเชื้อและการใช้ยาบางชนิดอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดโรคนี้ได้การใช้ยา ผู้ป่วยอาจมีอาการผิดปกติทันทีหลังจากใช้ยาหรือหลังหยุดใช้ยาไปแล้วนาน 2 สัปดาห์ ประเภทยาที่อาจก่อให้เกิด Stevens Johnson Syndrome ได้แก่ยาต้านการติดเชื้อ เช่น เพนิซิลลิน โคไตรม็อกซาโซลยาระงับอาการปวด เช่น พาราเซตามอล ไอบูโพรเฟน นาพรอกเซนยากันชักหรือยารักษาอาการป่วยทางจิต เช่น ฟีโนบาร์บิทัล เฟนิโทอิน เซอร์ทราลีน คาร์บามาซีปีน :warning:
:check:การป้องกัน-การกินอยู่อย่างถูกสุขอนามัย ไม่กินอาหารดิบ เช่น ปลาน้ำจืดดิบ เนื่องจากเป็นสาเหตุของพยาธิใบไม้ในตับ และนำไปสู่มะเร็งทางเดินน้ำดีได้-รักษาความสะอาด-ลดหรืองดการดื่มแอลกอฮอล์ กาแฟ ชา การสูบบุหรี่หรือยาสูบอื่น ๆ และไม่ใช้ยาเสพติด-ควบคุมน้ำหนักตัวและระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดนิ่วในทางเดินน้ำดี-ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ ซึ่งในปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอ และบี ที่ควรได้รับการฉีดหากมีความเสี่ยง ทั้งนี้ควรสอบถามแพทย์ถึงข้อดีข้อเสียต่อไป-บริหารจัดการความเครียด หลีกเลี่ยงความเครียดและความวิตกกังวล
:red_flag:ชนิดของสะเก็ดเงิน 1.ชนิดผื่นหนา (Plaque psoriasis) 2. ชนิดผื่นขนาดเล็ก (Guttate psoriasis) 3. ชนิดตุ่มหนอง (Pustular psoriasis) 4. ชนิดผื่นแดงลอกทั่วตัว (Erythrodermic psoriasis) 5.สะเก็ดเงินบริเวณซอกพับ (Inverse psoriasis) 6.สะเก็ดเงินบริเวณมือเท้า (Palmoplantar psoriasis) 7.เล็บสะเก็ดเงิน (Psoriatic nails) 8. ข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Psoriatic arthritis)
:red_flag:การรักษา แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงิน ขึ้นกับความรุนแรงของโรค :star:สะเก็ดเงินความรุนแรงน้อย หมายถึง ผื่นน้อยกว่า10% ของพื้นที่ผิว ทั่วร่างกาย (ผื่นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือเท่ากับพื้นที่ประมาณ1%) ให้การรักษาโดยใช้ยาทาเป็นอันดับแรก :star:สะเก็ดเงินความรุนแรงมากหมายถึง ผื่นมากกว่า10% ของพื้นที่ผิวทั่วร่างกาย พิจารณาให้การรักษาโดยใช้ยารับประทานหรือฉายแสงอาทิตย์เทียมหรืออาจใช้ร่วมกันระหว่างยารับประทานหรือฉายแสงอาทิตย์เทียมและยาทา
:red_flag:ยาทาภายนอก 1.ยาทาคอติโคสเตียรอยด์(topical corticosteroids) 2. น้้ามันดิน 3. แอนทราลิน (anthralin, dithranol) 4. อนุพันธ์วิตามิน D 5. ยาทากลุ่ม calcineurin inhibitor
:red_flag:ยารับประทาน 1. เมทโทเทรกเสท (methotrexate) 2. อาซิเทรติน (acitretin) 3. ไซโคลสปอริน (cyclosporin)
-
-
:star:Cellulitis Fasciitis โรคติดเชื้อของผิวหนังและชั้นใต้ผิวหนังลึกถึงระดับผังผืด (เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ) คือ ภาวะติดเชื้อบริเวณผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ส่งผลให้มีอาการบวมแดง ปวด หรือร้อนบริเวณที่มีการติดเชื้อ บางรายอาจมีไข้หรืออาการอื่น ๆ ร่วมด้วย แต่ในกรณีที่รุนแรง การติดเชื้ออาจแพร่กระจายสู่กระแสเลือดและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนบนร่างกาย แต่มักเกิดบริเวณขา โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่อาจเข้าสู่ร่างกายผ่านทางรอยแผล รอยแตก หรือผิวหนังที่บอบบาง
การป้องกัน :check: Cellulitisโดยทั่วไปอาจลดความเสี่ยงของภาวะ Cellulitis ได้โดยการดูแลสุขอนามัยของร่างกายและผิวหนัง เช่นไม่แกะหรือเกาผิวหนัง เพราะบางครั้งการเกาสามารถทำให้เกิดแผลได้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคผิวหนังมักจะมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อมากขึ้นหากมีผิวแห้งควรใช้ครีมทาบำรุงผิว เพื่อให้ผิวมีความชุ่มชื้นและไม่เสี่ยงต่อการแห้งแตกจนทำให้เชื้อโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บและการเกิดแผลทุกครั้งที่ทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ทำงานที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์แหลมคม เล่นกีฬาที่มีการปะทะ
:<3: โรคแบคทีเรียกินเนื้อ หรือ โรคเนื้อเน่า โรคแบคทีเรียกินเนื้อ หรือ โรคเนื้อเน่า (flesh-eating disease) หรือชื่อทางการแพทย์ คือ โรค necrotizing fasciitis เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียอย่างรุนแรงที่ผิวหนังชั้นลึก ตั้งแต่ชั้นหนังกำพร้า ชั้นหนังแท้ ชั้นไขมันใต้ผิวหนัง ไปจนถึงชั้นเนื้อเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเน่าตายของเนื้อเยื่อบริเวณที่เกิดการติดเชื้อ และอาจลุกลามไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้2 โรคนี้พบไม่บ่อย แต่มีความรุนแรงมาก ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตหรือเกิดภาวะทุพพลภาพจากโรคตามมาได้สูงหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมอย่างทันท่วงที
:star: Herpes simplex
:red_flag: เชื้อไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ (Herpes Simplex Virus) โดยเชื้อไวรัสเริมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่-เชื้อไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ ชนิดที่ 1 (Herpes Simplex Virus type 1: HSV-1)-เชื้อไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ ชนิดที่ 2 (Herpes Simplex Virus type 2: HSV-2)
อัตราการเกิดซ้ำประมาณร้อยละ 80 ปัจจัยที่กระตุ้นเชื่อว่าอาจเกี่ยวข้องกับแสงแดด ไข้ การมีประจำเดือน ความเครียด :warning:
:red_flag: อาการของโรคเริมที่เป็นครั้งแรกจะมีระยะฟักตัวประมาณ 3-7 วัน จะไม่มีอาการ ถ้ามีอาการรุนแรงขึ้นจะมีตุ่มน้ำใสๆแตกเป็นแผลตื้นๆ
:warning:สาเหตุของการเกิดโรค การมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนักโดยไม่มีการป้องกัน,การใช้ปากในการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเม็ดตุ่มใสที่ปากใช้อุปกรณ์ เพื่อกิจกรรมทางเพศร่วมกัน,ทำการสัมผัสอวัยวะเพศกับผู้ที่ติดเชื้อโรคเริม
:check:การป้องกันเริ่มกลับเป็นซ้ำ-ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นให้เริ่มเกิดเป็นซ้ำ-ถ้าเริ่มเป็นซ้ำบ่อยมากกว่า 6 ครั้งต่อปีหรือเริ่มที่เป็นอาการรุนแรงหรือการเป็นซ้ำมีผลลดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาการรับประทานยาต้านไวรัสทุกวันเพื่อป้องกันเริ่มกลับเป็นซ้ำการป้องกันการแพร่เชื้อของโรคเริ่ม-ระยะแพร่เชื้อติดต่อให้ผู้อื่นคือตั้งแต่เริ่มมีอาการนำจนกระทั่งแผลหายตกสะเก็ด-หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลน้ำลายสารคัดหลั่งของผู้ป่วย-ผู้ป่วยที่มีรอยโรคที่อวัยวะเพศสามารถแพร่เชื้อให้คู่นอนได้จึงควรงดการทีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่เริ่มมีอาการน้ำจนกว่าแผลจะหายสนิท-เนื่องจากโรคเริมสามารถแพร่เชื้อสู่คู่นอนได้แม้ผู้ป่วยไม่มีอาการจึงแนะนำให้ใช้ถุงยางทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์-การรับประทานยาต้านไวรัสทุกวันสามารถลดการแพร่เชื้อได้ แต่เนื่องจากยามีผลข้างเคียงจึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนการรับประทานยา
:star:การรักษา - โรคส่วนใหญ่ อาการไม่รุนแรง และหายเองได้ โดยเฉพาะเริมที่กลับเป็นซ้ำ - ผู้ป่วยควรพักผ่อนและดื่มน้ำมาก ๆ - ถ้ามีไข้สูง ควรใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวบ่อย ๆ และรับประทานยาพาราเซตามอลบรรเทาไข้ - ใช้น้ำเกลือกลั้วปากถ้ามีแผลในปาก - ไม่แกะเกา และอาบน้ำฟอกสบู่ให้สะอาด - รีบพบแพทย์และรับประทานยาต้านไวรัสเร็วภายใน 48 ชั่วโมงหลังมีอาการนำ จะสามารถลดระยะเวลาการเกิดโรค ลดการแพร่เชื้อ และลดระยะเวลาเจ็บปวดได้ การให้ยามี 2 ลักษณะ คือ การให้ยาตั้งแต่เริ่มมีอาการปวดแสบ ปวดร้อน โดยที่ยังไม่มีผื่นขึ้น และการให้ ยาเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำในรายที่เป็นซ้ำบ่อย หรือมีโรคประจำตัว
:star:Herpes Zoster
:red_flag:โรคงูสวัดเกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (varicella-zoster virus) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสชนิดเดียวกับโรคอีสุกอีใส ที่ซ่อนอยู่ปมประสาทรับความรู้สึกในร่างกาย ได้แสดงอาการและก่อให้เกิดโรคงูสวัด ทำให้มีผื่นที่ผิวหนังและกลายเป็นตุ่มน้ำใส ร่วมกับอาการปวดแสบร้อน คันแสบ และตุ่มน้ำนั้นจะแตกออกมา
:warning:อาการของโรคงูสวัดในระยะแรกก่อนที่จะมีผื่น ผู้ป่วยจะมีอาการปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนังตามแนวของเส้นประสาท หลังจากนั้น 2-3 วันจะมีผื่นแดงขึ้นตรงบริเวณที่ปวด แล้วกลายเป็นตุ่มน้ำใส ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ร่วมด้วยผื่นตุ่มน้ำใสมักอยู่เรียงกันเป็นกลุ่ม หรือเป็นแถวยาวตามแนวของเส้นประสาท และจะแตกออกเป็นแผล ต่อมาจะตกสะเก็ด และหายในระยะเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ เมื่อแผลหายแล้ว อาจจะยังมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทได้
:check:การรักษาโรคสะเก็ดเงินการรักษาโรคสะเก็ดเงินเป็นการรักษาให้โรคสงบ แต่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ หากมีสิ่งมากระตุ้นโรคจะสามารถกำเริบได้อีกโดยในการรักษาแพทย์จะเลือกรักษาตามความรุนแรง แบ่งออกเป็นกรณีเป็นน้อย รักษาโดยใช้ยาทาเฉพาะที่ เพื่อลดอาการอักเสบ ตัวยามักมีข้อจำกัดในการใช้ จึงควรใช้ภายใต้คำแนะนำและการควบคุมของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกรณีมีผื่นหนาและเป็นมาก รักษาโดยใช้ยากินร่วมกับยาทา หรือรักษาด้วยวิธีอื่น ได้แก่ ฉายแสงอาทิตย์เทียมกรณีดื้อต่อการรักษาวิธีใดอาจใช้วิธีอื่นมารักษาแทน เช่น ใช้ยาฉีดชีวภาพ ข้อควรปฏิบัติในผู้ป่วยสะเก็ดเงินหลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดการแห้งของหนังศีรษะหรือผิวหนังหากเป็นน้อยสามารถใช้ผลิตภัณฑ์ทั่วไปได้ โดยเลือกที่อ่อนโยนต่อผิว ทาโลชั่นให้ผิวชุ่มชื้นเป็นประจำหากเป็นมาก ควรใช้ผลิตภัณฑ์ที่ออกฤทธิ์ช่วยลดการอักเสบหลีกเลี่ยงการแกะหรือเกาผื่นสะเก็ดเงิน เพราะอาจทำให้อาการรุนแรงขึ้นและลุกลามได้พยายามอย่าเครียด ทำใจให้สบาย พักผ่อนและออกกำลังกายให้เพียงพอหากติดเชื้อบางชนิด เช่น ติดเชื้อที่คอ ซึ่งกระตุ้นให้เกิดสะเก็ดเงินได้ ควรรีบรักษาอาการติดเชื้อโดยเร็วหลีกเลี่ยงการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ควบคุมไม่ให้มีภาวะน้ำหนักเกิน ข้อควรปฏิบัติของคนรอบข้างผู้ป่วยสะเก็ดเงินทำความเข้าใจว่าโรคดังกล่าวไม่ใช่โรคติดต่อ และเป็นโรคที่ไม่เกี่ยวกับการติดเชื้อและไม่เกี่ยวข้องกับความสกปรก สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้ป่วยได้อย่างปกติให้กำลังใจผู้ป่วย และคำแนะนำเกี่ยวกับการรักษากับผู้ป่วย แม้จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ทำให้โรคสงบได้ไม่เพิ่มความเครียดให้กับผู้ป่วย เพราะโรคนี้มีความเครียดเป็นปัจจัยกระตุ้นที่สำคัญ
:star: Erythema multiformอีริทิมามัลติฟอร์เม (Erythema Multiforme: EM)คือ เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบแบบเฉียบพลัน จากกลไกทาง อิมมูนต่อปฏิกิริยาการแพ้ของร่างกาย ที่มีผลต่อการเกิดรอยโรคผิวหนัง หรือเยื่อเมือก หรือทั้งสองบริเวณเป็นรอยโรคที่สามารถหายได้เอง สามารถเป็นกลับซ้ำ และพบได้ในชาวเอเชีย
:warning:สาเหตุจากเกิดจากการติดเชื้อ เช่น เชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ (HSV) หรือแบคทีเรียไมโคพลาสมานิวโมเนีย (Micoplasma pneumoniae) เป็นต้น และอีกสาเหตุหนึ่งอาจเกิดจากปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาหรือสารเคมี
:red_flag:ลักษณะผื่น ระยะแรกเป็นรอยแดง กลายเป็นตุ่มนูนแดงระยะนี้จะดูคล้าย Maculo-papular rash ต่อมาบริเวณตรงกลางของผื่นจะพอง อาจกลายเป็นตุ่มน้ำ หรือเป็นสีดำคล้ำจากการตายของผิวหนัง ทำให้มีลักษณะคล้ายเป้ายิงธนู ผื่นมักเกิดภายหลังรับยา 5 – 7 วัน มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา และเยื่อบุก่อน จากนั้นจะลามไปที่ลำตัว บริเวณเยื่อบุต่างๆ
:check:อาการ-ไข้-รู้สึกไม่สบายตัว-คันตามผิวหนัง-ปวดข้อ-มีผื่นขึ้นซึ่งมีได้หลายรูปแบบ-เป็นผื่นแดงตุ่มเล็กๆ หรือผื่น-แดงแบนราบ หรือผื่นแบบลมพิษมีตุ่มน้ำซึ่งมีหลายขนาดพบผื่นที่ลำตัว แข ขา ฝ่ามือ ใบหน้า มักจะเป็นสองข้างอาการอื่นๆที่อาจจะพบได้-ตาแดง-แสบตา น้ำตาไหล-แสบปาก
:check:การวินิจฉัยการวินิจฉัยอาศัยการซักประวัติเเละตรวจร่างกายโดยละเอียด ลักษณะสำคัญและจำเป็นในการวินิจฉัยแยกโรคอีกอย่างหนึ่งคือ ผู้ป่วยจะมีผื่นตามเยื่อบุแห่งหนึ่ง เช่น ริมฝีปาก เพดานปาก เหงือก เยื่อบุตาหรืออวัยวะเพศ ลักษณะจะเป็นแผลถลอกตื้นๆ มีเลือกออก เมื่อแห้งจะเป็นสะเก็ดสีดำ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัว เจ็บคอ คล้ายเป็นไข้หวัดร่วมด้วยได้เช่นเดียวกับผื่นลมพิษ