Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิของโรคติดเชื้อและโรคติดต่อในชุมชนระยะเฉียบพลันแล…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิของโรคติดเชื้อและโรคติดต่อในชุมชนระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Emerging Infectious Disease (EID) โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
โรคเมอร์ส(MERS CoV)
อาการ
ไอ หรือไอปนเลือด
หายใจได้ลำบาก หายใจตื้น
การวินิจฉัย
การตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธีพีซีอาร์
การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา
สาเหตุ
เชื้อไวรัส โคโรนาไวรัส
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการของผู้ป่วย
โรคอีโบลา (Ebola)
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ให้ออกซิเจน
ถ่ายเลือดหรือให้เลือด
รักษาระดับความดันโลหิต
การวินิจฉัย
ถามประวัติของผู้ป่วย
สาเหตุ
สัมผัสหรือรับประทานอาหารป่าแบบดิบหรือสุก
อาการ
มีไข้สูง
เจ็บคอ
ปวดศีรษะ
ปวดข้อต่อและกล้ามเนื้อ
ไม่อยากอาหาร
โควิด-19(COVID-19)
อาการ
อ่อนเพลีย
ปวดเมื่อย
มีน้ำมูก
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การเก็บตัวอย่างเชื้อ (Swab Test)
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
การรักษา
การบรรเทาอาการ
การใช้ยาลดไข้หรือยาแก้ไอ
Neglected Tropical disease (NTD) โรคเขตร้อน
พิษสุนัขบ้า(Rabies)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสที่ชื่อว่าเรบีส์
การวินิจฉัย
เก็บตัวอย่างเลือด
การตรวจน้ำลาย
ตรวจของเหลวจากไขกระดูกสันหลัง
อาการ
กลัวน้ำ ไม่สามารถกลืนน้ำลายได้
มีการเกร็งของกล้ามเนื้อใบหน้าและลำคอ กล้ามเนื้อที่ใช้กลืน และกล้ามเนื้อหายใจ
กลืนอาหารลำบาก
การรักษา
วัคซีนป้องกัน
โรคเมลิออยด์(Melioidosis)
อาการ
ปวดศีรษะ
ปวดศีรษะ
การวินิจฉัย
การตรวจภาพเอกซเรย์ปอด
การตรวจเชื้อและการตรวจเพาะเชื้อจากเลือดและสารคัดหลั่ง
สาเหตุ
Burkholderia Pseudomallei
การรักษา
การรักษาด้วยยาต้านจุลชีพ
โรคฉี่หนู(Leptospirosis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
เพื่อดูการทำงานของตับ
การเอกซเรย์ทรวงอก
การรักษา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
สาเหตุ
เล็ปโตสไปรา (Leptospira)
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดศีรษะ มีไข้สูง หนาวสั่น
รู้สึกเหนื่อยล้า
มาลาเรีย(Malaria)
อาการ
เหงื่อออกมาก
ปวดศีรษะ
มีไข้สูง
คลื่นไส้
การวินิจฉัย
การตรวจเลือดที่เรียกว่า Thick Smear และ Thin Smear
สาเหตุ
การติดเชื้อโปรโตซัวที่เรียกว่า พลาสโมเดียม (Plasmodium)
การรักษา
ยาต้านมาลาเรีย
ยาดอกซีไซคลิน
ยาควินิน ซัลเฟต
ยาคลอโรควิน
ยาเมโฟลควิน
บาดทะยัก (Tetanus)
การวินิจฉัย
ไม่มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ให้ยา
ให้ยาที่ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย
Tetanus Immunoglobulin
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่าคลอสตริเดียม เตตานิ (Clostridium Tetani)
อาการ
อาการชักเกร็งหรือกล้ามเนื้อขากรรไกรหดเกร็ง
มีอาการหดเกร็งที่กล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ ตามมา
Communicable disease (CMD) โรคติดต่อ
Cholera(อหวิาตกโรค)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า วิบริโอ โคเลอรี (Vibrio Cholerae)
อาการ
คลื่นไส้และอาเจียน
ประสบภาวะขาดน้ำ
ท้องร่วง
การรักษา
การให้รับประทานน้ำเกลือแร่
การให้รับประทานน้ำเกลือแร่
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การให้แร่ธาตุสังกะสี
การวินิจฉัย
เทคนิคพีซีอาร์
การตรวจตัวอย่างอุจจาระผู้ป่วย
การตรวจด้วยแถบตรวจอหิวาตกโรค
โรคไข้ซิกา(Zika)
การวินิจฉัย
การตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธีพีซีอาร์
การตรวจปัสสาวะ และสารคัดหลั่งในร่างกาย
การตรวจหาภูมิต้านทานต่อเชื้อหรือแอนติบอดีด้วยวิธีอิไลซ่า
การรักษา
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
สาเหตุ
เกิดจากการโดนยุงลายที่มีเชื้อไวรัสซิกากัด
อาการ
มีผื่นแดง
อ่อนเพลีย
วัณโรค(TUBERCULOSIS)
สาเหตุ
การติดเชื้อไมโครแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium Tuberculosis)
การวินิจฉัย
การตรวจทางผิวหนัง
เพื่อดูระดับภูมิคุ้มกัน
อาการ
ระยะแฝง
เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อแล้วจะไม่มีอาการใด ๆ
ระยะแสดงอาการ
มีอาการไอเรื้อรัง
ไอเป็นเลือด
เจ็บหน้าอก
การรักษา
การรับประทานยาต่อเนื่อง
ไอโซไนอาซิด (Isoniazid)
ไรแฟมพิซิน (Rifampicin)
อีแทมบูทอล (Ethambutol)
ไข้หวัดใหญ่(INFLUENZA)
สาเหตุ
เกิดจากร่างกายได้รับเชื้อไวรัสกลุ่ม Influenza Virus
การวินิจฉัย
การเก็บตัวอย่างเชื้อจากน้ำมูกหรือเสมหะไปตรวจ
อาการ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
มีไข้สูงมาก
การรักษา
แพทย์จะจ่ายยาเพื่อรักษาตามอาการที่ป่วย
ประเภท
ชนิด B
แพร่ระบาดตามฤดูกาลที่มีสภาพอากาศเอื้ออำนวยต่อการติดเชื้อ
ชนิด C
เป็นการติดเชื้อทางระบบหายใจที่ไม่รุนแรง
ชนิด A
สามารถติดต่อจากสัตว์พาหะมาสู่คน
ชนิด D
เป็นการติดเชื้อที่พบเฉพาะในสัตว์
Hepatitis
ชนิดB
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อโดยไม่สวมถุงยางอนามัย
การใช้เข็มฉีดยา เข็มสักตามตัว และการเจาะหู รวมถึงของใช้ส่วนตัว
การติดเชื้อขณะคลอดจากแม่ที่มีเชื้อ (ถ้าแม่มีเชื้อลูกมีโอกาสได้รับเชื้อ 90%)
การสัมผัสเลือด น้ำคัดหลั่ง โดยผ่านเข้าทางบาดแผล
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย เป็นผื่น ปวดข้อ
ชนิดC
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อโดยไม่สวมถุงยางอนามัย
การติดเชื้อขณะคลอดจากแม่ที่มีเชื้อ (ถ้าแม่มีเชื้อลูกมีโอกาสได้รับเชื้อ 90%)
-การใช้เข็มฉีดยา เข็มสักตามตัว และการเจาะหู รวมถึงของใช้ส่วนตัว
อาการ
มีไข้ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปวดท้องด้านชายโครงขวา
ชนิดA
การล้างมือไม่สะอาดหลังเข้าห้องน้ำ
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ
ติดจากการทานอาหารจากผู้ป่วย
ดื่มน้ำที่มีเชื้อแฝงอยู
ไวรัสตับอักเสบเอจะไม่ติดต่อทางน้ำลาย และปัสสาวะ
เป็นไข้ตัวร้อน ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แน่นบริเวณชายโครงด้านขวา ท้องร่วง อุจจาระสีซีด ปัสสาวะสีเข้ม และมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
การดูเเลตนเอง
สามารถออกกำลังกายแบบเบาๆ ได้ แต่ไม่ควรหักโหมเหมือนตอนที่ร่างกายเป็นปกติ
งดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะเป็นการกระตุ้นการแบ่งตัวของเชื้อไวรัส และทำให้เซลล์ตับเสื่อมมากขึ้น
ควรพักผ่อนนอนหลับให้พอเพียง พยายามไม่เครียด ทำจิตใจให้แจ่มใส