Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุลสารน้ำเกลือแร่และกรด-ด่าง Fluid &…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุลสารน้ำเกลือแร่และกรด-ด่าง Fluid & Electrolytes imbalance
สารน้ำ (luid) สารน้ำ (fluld
) ในร่างกายหมายถึงน้ำและสารประกอบที่ละลายอยู่ในน้ำ ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์ทั้งประจุบวกและลบรวมถึงโปรตีนกลูโคลและไขมัน "น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของสารน้ำในร่างกาย VOIRES
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 2. เป็นให้ความชุ่มชื้นต่อเนื้อเยื่อของร่างกายเช่นปากตาจมูก 3. หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน 4. ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขับของเสียผ่านทางไต 5. ละลายเกลือแร่และสารอาหาร 6. นำอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื้อเยื่อ
น้ำในร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
1. น้ำภายนอกเซลล์มีประมาณ 40%
ได้แก่ น้ำที่อยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ในหลอดเลือดในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในกระดูกและในช่องว่างต่าง ๆ เช่นในเข่าข้อนิ้วและน้ำไขสันหลัง
2. น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
"ในร่างกายของเรามีน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณ 60% ของน้ำหนักตัวโดยปริมาณจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอายุเพศปริมาณไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
การควบคุมสมดุลของน้ำในร่างกายมี 2 กลไก
-
กลไกการระเหยของน้ำเป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum
เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำร้อยละ 1-2 ของน้ำในร่างกายทั้งหมด (เครียดเจ็บปวดยาบางชนิดเช่นมอร์ฟีน) จะเพิ่มออสโมลาลิตี้ (อนุภาคทั้งหมดที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร) ของน้ำนอกเซลล์ทำให้เซลล์ขาคนเล็กน้อยนิวรอน (Neuron) ในไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นศูนย์กระหายน้ำจะตอบสนองต่อการขาดน้ำและส่งกระแสประสาทกระตุ้นไปยังสมองใหญ่ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ
การควบคุมโดยฮอร์โมน AntIdluretic hormone (ADH)
ถูกสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการกระตุ้นการหลั่ง ADH เช่นกันโดย ADH ทำหน้าที่ส่งเสริมการดูดน้ำกลับที่ท่อไตส่วนปลาย (Distal tubules) และท่อรวม (Collecting duct) ทำให้จำนวนปัสสาวะลดลงความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ้นและปริมาตรของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
Aldosterone เป็นฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ร่วมกับ ADH
เพื่อควบคุมน้ำในร่างกาย aldosterone ถูกหลั่งจาก Adrenal Cortex จะหลั่งเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาตรของพลาสมาลดลงโซเดียมในพลาสมาลคลงหรือมีความเครียดทำให้มีการดูดกลับของของโซเดียมและดึงน้ำกลับตามไปด้วย "การมีโซเดียมในพลาสมาสูงยังกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำส่งผลให้ดื่มน้ำมากขึ้นและปริมาตรของน้ำภายนอกเซลล์ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
การประเมินสมดุลของเหลว
1.การซักประวัติ 2.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 3.การตรวจร่างกายต้องดูว่าผู้ป่วยมีโรคหรืออาการบาดเจ็บที่ส่งผลต่อสมดุลของเหลวหรือไม่เช่นการเป็นโรคตับเบาหวานผู้ป่วยได้รับยาที่มีผลต่อระดับของเหลวในร่างกายผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอหรือปริมาณที่ได้รับกับที่ออกเท่ากันหรือไม่
การสังเกตและการประเมิน
1. สีหน้า
การขาคนอย่างรุนแรงจะส่งผลทำให้ตาลึกโหลสีหน้าอ่อนระโหยเยื่อบุภายในปากแห้งกระหายน้ำผิวหนังซีคเย็นผิวหนังตั้งได้ (skin tergore) มีอาการบวม (edema)
2. สัญญาณชีพ
มีอุณหภูมิกายขึ้นสูงชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึกความคันโลหิตลดต่ำลง
3. ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้นปริมาณปัสสาวะลดลง
เนื่องจากมีปริมาณของฮอร์โมน antidiuretic เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณของน้ำปัสสาวะลดลงจะท้าให้มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้น
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ (fluid homeostasis)
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ
1. ความผิดปกติของส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
*
2. ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียน
ภาวะ
เสีย
สมดุลของน้ำและอิเลคโทรลัยท์ที่สำคัญ ได้แก่ การเสียสมดุลปริมาตรและความเข้มข้นเช่นภาวะขาดน้ำภาวะบวมภาวะเสียสมดุลอิเลคโทรลัยท์เช่นการเสียสมดุล Na-K การเสียสมดุลของภาวะกรด-ค่าง
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ (fluid homeostasis)-ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemia, Fluid volume deficit)
คือภาวะที่มีปริมาณน้ำในร่างกายน้อยกว่าปกติมีความผิดปกติของโซเดียม ECF น้อยกว่าปกติน้ำน้อยกว่าตัวถูกละลายเกิดภาวะ hyperosmolar
ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemia, Fluid volume deficit)
สาเหตุแบ่งออกเป็น
Primary dehydration
จะเกิดจากการได้รับไม่พอไม่ว่าจะเกิดจากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้ำดื่มหรือเกิดการบาดเจ็บรุนแรงหมดสติ
(secondary dehydration
เกิดจากการเสียน้ำที่มีการเสียอิเลคโทรลัยท์ด้วยโดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียมเช่นการเกิดการอาเจียนท้องร่วงหรือมีการขับปัสสาวะออกมาก
ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemia, Fluid volume deficit) อาการไม่มีแรงผิวหนังแห้งคอแห้งไม่มีน้ำลายริมฝีปากแห้งน้ำหนักลดหัวใจเต้นเร็วกระวนกระวาย
"เมื่อขาคน้ำมากกว่าร้อยละ 7 จะทำให้ความดันลดต่ำลงผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวเพ้อสับสนตาลึกโบประสาทหลอนเส้นเลือดที่คอฝ่อ Hct เพิ่มขึ้นมีอาการอ่อนเพลียไม่มีแรงลิ้นแตกอุณหภูมิกายเพิ่มสูงขึ้นกล้ามเนื้อเป็นตะคริวมีความดันต่ำเวลาเปลี่ยนท่า (postural hypotension) ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 cc / hr.
:
ภาวะขาดน้ำ (dehydration, hypovolemla, Fluid volume deficit)
20 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB :) urine : sp. gr.> 1.030 BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ้น Na> 150mEq / L ✓ Het> 45% / ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มี / เสี่ยงต่อภาวะขาดน้ำ / ได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากท้องร่วง / อาเจียน•เกิด / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวายเนื่องจาการสูญเสียน้ำเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะ hypovolemia
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำบันทึกสัญญาณชีพน้ำหนักตัวระดับความรู้สึกตัวให้สารน้ำและเกลือแร่ทอแทนดูแลความสะอาดปากฟันติดตามผลทางห้องปฏิบัติการบันทึกปริมาณน้ำเข้าออกโดยจะต้องมีน้ำออกไม่น้อยกว่า 30 cc / hr หากผู้ป่วยใส่สาย catheter และต้องมีปัสสาวะไม่น้อยกว่า 500-700 cc / day
ภาวะน้ำเกิน (hypervolemla)
ภาวะน้ำเกิน (hypervolemia) หรือ water intoxication เป็นภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า 60% ของน้ำหนักตัว ECF มากกว่าปกติจะมีอาการบวม (edema)
ภาวะน้ำเกิน (hypervolemla) "
สาเหตุเกิดจาก**-การได้รับเกลือและน้ำมากเกินไป-ได้รับยา corticosteroid-มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ-มีการหลั่ง ADH มากกว่าปกติ-ผู้ป่วยที่มีภาวะขาดโซเดียม SALT
ภาวะน้ำเกิน (hypervolemla) อาการที่เกิดขึ้น
ได้แก่ pulmonary edema จะมีอาการหอบหายใจลำบากไอมาก✓ congestive heart failure V neck vein engorged-น้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอาจมีอาการชัก V บวมตามปลายมือปลายเท้า V ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ภาวะน้ำเกิน (hypervolemia) ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
•มี / เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรื้อรัง / โปรตีนในเลือดต่ำ / ไตสูญเสียหน้าที่•ได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน•เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะน้ำเกิน hypervolemia
* ประเมินความรู้สึกตัวอาการบวมภาวะน้ำเกินบันทึกสัญญาณชีพน้ำหนักตัวดูแล จำกัด น้ำและเกลือ•ดูแลให้ยาขับปัสสาวะบันทึกปริมาณน้ำเข้าออก (t / 0) •ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ (LAB) •จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบายหายใจได้สะดวก
ภาวะบวม (edema) อสาเหตุเกิดจาก
-แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF ภาวะ Alb ในเลือดต่ำภาวะ nephrotic Syndrome เกิดจากไตผิดปกติ-มีการคั่งของโซเดียมสูญเสีย vascular permeability-เกิดการอุดตันของระบบทางเดินน้ำเหลือง (lymphatic obstruction)
ภาวะบวม (edema) อาการ
น้ำหนักขึ้นร้อยละ 5 มีอาการบวมผิวหนังอุ่นชิ้นแดงชีพจรแรงหายใจลำบากหายใจเร็วหอบเหนื่อยหลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement) กระสับกระส่ายสับสนตะคริวชักหมดสติคลื่นไส้อาเจียนถ่ายอุจจาระเป็นน้ำปัสสาวะอาจออกมากหรือน้อยกว่าปกติ
ภาวะบวม (edema) การตรวจร่างกายบวมกคม
, หลอดเลือดที่คอโป่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ wa urine spgr. <1.010 พบ Na ในปัสสาวะ> Na ในเลือค <135 mEq / L Hct ต่ำกว่าปกติได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรื้อรัง / ไตสูญเสียหน้าที่เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากโปรตีนในเลือดต่ำได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียนเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลงความสามารถในการทำกิจกรรมลคลงเนื่องจากอ่อนเพลีย / มีบวมตามแขนขาหรือทั่วร่างกาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะบวม (edema)
ประเมินระดับความรู้สึกตัว•ประเมินอาการบวมสังเกตอาการของภาวะน้ำเกินจัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler's position จำกัด น้ำดื่ม จำกัด อาหารเค็มบันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้ำหนัก, I / O ดูแลให้ hypertonic saline ตามแผนการรักษาเพื่อปรับ plasma osmolality ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา.
Electrolyte อิเลคโทรลัยท์ (Electrolyte) หมายถึงสารที่แตกตัวเป็นไอออนได้ในร่างกายแบ่งสารอิเลคโทรลัยท์ออกเป็น 2 กลุ่ม
คือกลุ่มที่มีประจุบวกที่เรียกว่า cations
ประกอบไปด้วย sodium, potassium, calcium, magnesium สารที่มีประจุลบที่เรียกว่า anions ได้แก่ chloride, phosphorus, bicarbonate อิเลคโทรลัยท์ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลน้ำสมดุลกรอค่างในร่างกาย
Electrolyte O ร่างกายได้รับ Elyte จากอาหารน้ำดื่มหรืออาจได้รับจากยาหรือสารน้ำทางหลอดเลือดดำในการรักษาภาวะของโรค Elyte เหล่านี้จะอยู่ในสารน้ำของร่างกายทั้งภายในเซลล์และภายนอกเซลล์หน่วยของการวัดความเข้มข้นของ Elyte ในร่างกายวัดเป็น mEq / L (milliequivalents per liter) nga mg / dl (milligrams / deciliter) ตัวที่ทำหน้าที่ในการควบคุม Elyte ได้แก่
ระบบไตระบบต่อมไร้ท่อและระบบทางเดินอาหาร
โซเดียม (sodium, Na)
โซเดียมเป็นอิเลคโทรลัยท์ที่มีมากที่สุดในร่างกายค่าปกติ 135-145 mEq / L ปริมาณของโซเดียมที่ร่างกายได้รับขึ้นกับอาหารที่รับประทาน | ในคนปกติต้องการได้รับเกลือใหญ่ขนาด 2 กรัม / วัน
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremia)
Na <135 mEq / L
สาเหตุเกิดจากร่างกายได้รับ
Na จากอาหารน้อยไปมีการดูดซึมไม่ดีได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานานสูญเสียทางระบบทางเดินอาหารเช่นอาเจียนท้องร่วง► NG tube with suction, NG content การที่มีเหงื่อออกมากเกินออกกำลังกายหรืออยู่ในที่อากาศร้อนอาการทางระบบประสาทโรคจิตซึมเศร้า Coma
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ ((hyponatremia) แบ่งออกเป็นรุนแรงเล็กน้อย Na
= 125 -135 mEq / L รุนแรงปานกลาง Na = 115 -125 mEq / L รุนแรงมาก Na = 90 -115 mEq / L
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla) อาการ
1. จากการสูญเสียโซเดียม 1.1 รุนแรงเล็กน้อยอ่อนเพลียความดันเลือคปกติ 1.2 รุนแรงปานกลางรู้สึกตัวดีกระหายน้ำถ้าดื่มมากจะเป็นตะคริวอาเจียนเริ่มรู้สึกเวียนศีรษะเวลายืนจะเป็นลมอ่อนเพลียมากความดันเลือดท่านั่งและท่ายืนมากกว่าท่านอนชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง / นาทีผิวหนังเหี่ยวย่น..
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla) D อาการ
(ต่อ) 1.3 รุนแรงมากกล้ามเนื้อกระตุกสั่นเพ้อกระสับกระส่ายต่อมาไม่รู้สึกตัว Systolic Bp <90 mm.Hg | ผิวหนังเหี่ยวย่นชัดเจนขอบตาลึก "ปัสสาวะน้อยกว่า 15 มล. / ชม." ปลายมือปลายเท้าเขียวและเสียชีวิต
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremia) 2. จากภาวะน้ำเกิน
2.1 Na> 120 mEq / L แต่ <135 mEq / L "น้ำหนักเพิ่มขึ้นบวม" ปริมาณปัสสาวะปกติหรือมากกว่าปกติ "BP สูง P เร็วและแรงหลอดเลือดดำส่วนปลายโป่งพอง" ฟังหัวใจพบ murmur และ gallop กล้ามเนื้ออ่อนแรงและเป็นตะคริว
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla)
2.2 Na <120 mEq / L | เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน "หงุดหงิดบุคลิกเปลี่ยนแปลงสับสน 2.3 Na <110 mEq / L | รีเฟล็กซ์ลดลงเพ้อคลั่งชัก 2.4 Na <105 mEq / L" ไม่รู้สึกตัว
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla)
) การวินิจฉัย-ระดับของ Na <135 mEq / L Osmolarity <285 mosm / kg Urine sp gr. 1.002-1.004 "BUN สูง, Na ในปัสสาวะ <10 mEq / L จากการซักประวัติพบว่ามีอาการอาเจียนท้องร่วงร่วมด้วยภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremia)
การรักษามีการทดแทนอย่างพอเหมาะกับการสูญเสีย D
หากร่างกายมีการขาด N ลน้อยและมีการขาดน้ำมากจะต้องให้ Normal saline และอาหารที่มีโซเดียมสูง D หากเกิดภาวะน้ำเกินมากและขาด Na มากจะต้องมีการให้ Na ทดแทนและยาขับปัสสาวะ (Furosemide) FUROSEMIDE
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla)
มี / เสี่ยงต่อภาวะโซเดียมในร่างกายต่ำเนื่องจากอาเจียน / ท้องร่วง / แผลไหม้ / ขาดสารอาหารเสี่ยงต่อการเกิดแผลในปากเนื่องจากเยื่อบุปากแห้ง•ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างการเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน / เบื่ออาหารเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
หลักการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremla)
หาสาเหตุและแก้ไขให้โซเดียมทดแทนและป้องกันภาวะ shock ป้องกันภาวะโซเดียมต่ำประเมินระดับความรู้สึกตัวป้องกันการเกิดอุบัติเหตุช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันต่างๆให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเพื่อลดความวิตกกังวลติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน (hypernatremia) Na> 145 mEq / L 0
สาเหตุ
1. ได้รับเกลือเพิ่มขึ้นเช่นได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำไตวายหัวใจล้มเหลว 2. ได้รับน้ำน้อยหรือสูญเสียน้ำมากเช่นมีไข้ไฟลวกรุนแรงสูญเสียน้ำจากปอดมีท่อระบายจากแผลหรือจากร่างกายภาวะ 1.
อาการ
ทั่วไปมีไข้ต่ำ ๆ กระหายน้ำมาก 2. ผิวหนังผิวแดงหน้าแดงบวมปากแห้งลิ้นบวมแดง 3. ระบบหัวใจและหลอดเลือดหัวใจเต้นเร็วความดันเลือดสูงความดันเลือดดำส่วนกลาง (CVP) สูง 4. ระบบหายใจหายใจหอบเหนื่อยปอกมีเสียงกรอบแกรบ (รายที่มี Hypervolemia) 5. ระบบประสาทสับสนกระสับกระส่ายชัก 6. ระบบกล้ามเนื้ออ่อนแรงระบบทางเดินปัสสาวะน้อยหรือไม่มี
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน (hypernatremla). •การวินิจฉัย 1. ซักประวัติและตรวจร่างกาย 2. ตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ Na> 145 mEq / L CI> 110 mEq / L Osmolarity> 295 mOsm / kg Sp. gr. assist Osmolarity in urine> 800 mOSm / kg. การรักษาภาวะโซเดียมเกิน (hypernatremia) 1. หาสาเหตุ 2. ดูแลให้ได้รับสารน้ำที่ไม่มีโซเดียมจำกัคเกลือขับเกลือ 3. เพิ่มโปรตีนในพลาสมาในรายโปรตีนต่ำ (Alb) เพื่อดึงโซเดียมและน้ำจากช่องว่างระหว่างเซลล์เข้าหลอดเลือดและขับออกทางไต 4. นอนราบไม่ได้ให้สารละลายไฮโปโทนิค (hypotonic) เพื่อลดระดับโซเดียม แต่ไม่ควรให้น้ำเร็วเกินไปเพราะอาจจะทำให้เซลล์บวมได้โดยเฉพาะเซลล์สมองซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะสมองบวมและตามมาด้วยอาการชักได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะโซเดียมในเลือดสูง (hypernatremia)
0-มี / เสี่ยงต่อภาวะโซเดียมในเลือดสูงเนื่องจากไตวาย / ได้รับยาสเตียรอยด์ / สูญเสียน้ำเสี่ยงต่อการเกิดแผลในปากเนื่องจากเยื่อบุปากแห้ง•ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีแผลในสนปากลิ้น•เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากความรู้สึกตัวลดลง
หลักการพยาบาลภาวะโซเดียมในเลือดสูง ((hypernatremia)
จำกัด กิจกรรมบนเตียงให้นอนพักบนเตียงประเมินสัญญาณชีพประเมินระดับความรู้สึกตัวดูแลให้สารน้ำทดแทน จำกัด น้ำดื่มในกรณีที่มีภาวะน้ำเกินบันทึก I / O ชั่งน้ำหนักติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
โปแตสเซียม (Potassium, K) • K (3.5-5.5 mEq / L) ความเข้มข้นของ K พลาสมาขึ้นกับ K ที่มาจากอาหารการแตกการทำลายและการทำงานของไต
ปกติร่างกายจะได้รับ K อย่างเพียงพอส่วนที่เกินจะถูกขับออกทางปัสสาวะโปแตสเซียม (Potassium, K) หน้าที่ของ K
"ทำให้เกิดความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์หากระดับ K ต่ำหรือสูงเกินไปการเกิด action potential จะเกิดขึ้นได้ยาก• K เป็นปัจจัยร่วมในการทำงานของ Insulin ในการนำกลูโคสเข้าเซลล์•ช่วยควบคุมการไหลเวียนของเลือดขณะออกกำลังกาย
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) • K <3.5 mEq / L
สาเหตุเกิดจากการที่มีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไปเช่นภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึ้นมะเร็งภาวะค่างจากการเผาผลาญ (metabolic alkalosis) ได้รับสารอาหารที่มีปริมาณของ K น้อยเกินไปไม่รับประทานผักและผลไม้โดยเฉพาะกล้วยและสัมมีการสูญเสียจากการอาเจียนมาก ๆ มีอาการถ่ายเหลวภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokaleml อ) K <3.5 mEq / L สาเหตุเกิดจาก "การเสียเลือด" สิ่งคัดหลั่งจากแผล drain ต่างๆ• NG content "เสียเหงื่อออกกำลังกายมาก" การได้รับยาในกลุ่ม thiazide, flurosemide, amphotericin B
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) อาการของภาวะ K ต่ำ ได้แก่ กล้ามเนื้อกล้ามเนื้ออ่อนแรงถ้าเป็นมากจะเป็นอัมพาตแบบเปลี่ย (Flaccid paralysis
) เป็นตะคริวเฉื่อยชาซึมง่วงนอนรีเฟล็กซ์ลคลง "หัวใจหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอชีพจรเบาความคุ้นเลือดต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า-หายใจหายใจขึ้นหายใจวายและหยุดหายใจเพราะกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาตระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนท้องอืดเสียงลำไส้เคลื่อนไหวลคลงและหยุคในเวลาต่อมาภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) การวินิจฉัย 1. ซักประวัติ 2. ตรวจร่างกาย 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ• K <3.5 mEq / L pH> 7.45, HCO3> 29 mEq / L • EKG พบ PR Interval ยาวขึ้นเล็กน้อย ST ต่ำลง Twave in U wave
การรักษาภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) การรักษา HAD 1.
ทดแทน K 1.1. ในรูปยาฉีด (Intravenous Infusion) ที่นิยมใช้คือ-โปแตสเซียมคลอไรด์ (KCI)-โปแตสเซียมไดฟอสเฟต (K2HP04) มักใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยขาดเกลือฟอสเฟตร่วมด้วยการรักษาภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) 2. ในรูปยากิน 2.1 Elixir KCI 2.2 โปแตสเซียมซิเตรต (potassium citrate) มักใช้ในรายที่มีภาวะเลือคมีความเป็นกรดร่วมด้วย
การรักษาภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia) 2
. แก้ไขสาเหตุพยายามให้อาหารที่มีปริมาณของ K มากพอเช่นผักใบเขียวมะเขือเทศแครอทมันฝรั่งกล้วยส้มแตงโมนม 3. ติดตาม EKG ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ (hypokalemia). มี / เกิค / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำเนื่องจากปัสสาวะออกมากเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากโปแตสเซียมในเลือดต่ำเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงน้อยลงเนื่องจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia) K> 5.5 mEq / L สาเหตุเกิดจาก 1. ได้รับเพิ่มขึ้นเช่นได้รับโปแตสเซียมมากไปได้เลือคเก่าใกล้หมดอายุเพราะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย (Hemolysis) และปล่อยโปแตสเซียมออกมา 2. ลดการขับออกเช่นไตวายเฉียบพลันหรือเรื้อรัง Addison's disease 3. โปแตสเซียมออกจากเซลล์มากขึ้นเช่นมีการย้ายออกนอกเซลล์จากภาวะ Metabolic acidosis, ขาคอินซูลิน
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemla) อาการภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง
หัวใจมีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรงหัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง / นาทีต่อมาเต้นช้ากว่าปกติสุดท้ายหัวใจจะหยุดเต้นทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงลดลงความดันโลหิตลดลงกล้ามเนื้อชาและอ่อนแรงและเป็นอัมพาต-การหายใจเกิดภาวะขาดออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซค์คั่ง-ระบบทางเดินอาหารคลื่นไส้ท้องเดินเสียงลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นกล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นตะคริว-เกิดภาวะกรดในร่างกาย
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia) ให้แคลเซียมกลูโคเนต (calcium gluconate)
เพื่อไปยับยั้งผลของ K ต่อการนำไฟฟ้าที่หัวใจเพื่อแก้ไขภาวะหัวใจถูกกดให้โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate) เพื่อทำให้เกิดภาวะค่างซึ่งจะช่วยนำ K เข้าเซลล์มากขึ้นการรักษาภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia) ให้ 50% glucose ผสมกับ regular Insulin ทางหลอดเลือดดำเพื่อเร่งการนำ K เข้าเซลล์ให้ Kayexalate การให้ละลายใน 20% Sorbital จะทำให้มีการเร่งขับ K ออกทางอุจจาระ (กินส่วน feed) ให้ยาขับปัสสาวะเช่น furosemide,, thiazide
การวินิจฉัยภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia)
การวินิจฉัย 1. ซักประวัติตรวจร่างกาย 2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ• K, 5.5 mEq / L pH <7.35 HCO3 <22 mEq / L • EKG พบ T wave สูงและแคบ QT interval สั้น PR interval ยาวต่อมา P wave หายไป QRS interval ยาวขึ้นข้อวินิจฉัยภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemla) •มี / เกิด / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูงเนื่องจากปัสสาวะออกน้อย / มีภาวะกรคจากเบาหวาน. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากโปแตสเซียมในเลือดสูง-ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียนการหายใจล้มเหลวเนื่องจากกล้ามเนื้อการหายใจออนแรง
หลักการพยาบาลภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia)
บันทึกสัญญาณชีพดูแล จำกัด อาหารที่มีโปแตสเซียมเช่นกล้วยส้มมะละกอถั่วเนื้อสัตว์ป้องกันการเกิดอันตรายต่อหัวใจโดยการให้ Cagluconate •ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการหลักการพยาบาลภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemla) •เพิ่มการขับเอาโปแตสเซียมออกจากร่างกายเช่นการให้ดื่มน้ำมาก ๆ การให้ยาขับปัสสาวะ-การให้ยา Kayexalate หรือ Kalimate ทางการส่วนหรือการรับประทาน-การให้ 50% glucose ผสมกับ regular insulin ทางหลอดเลือดดำ
แคลเซียม (calcium, Ca) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกระดูกของร่างกาย-ช่วยในการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อทุกชนิดโดยแคลเซียมจะไปจับกับโทรโปนินแล้วกระตุ้นให้เกิดการหดตัวต่อไป-ช่วยในการคัดหลั่งฮอร์โมน-ช่วยในการแข็งตัวของเลือด-กำหนดศักย์ไฟฟ้าของเซลล์หัวใจบทบาทสำคัญของแคลเซียมต่อกล้ามเนื้อหัวใจคือช่วยให้กล้ามเนื้อมีการบีบตัวที่ดีการที่มีระดับของแคลเซียมลดต่ำลงทำให้หัวใจบีบตัวน้อยลง
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia).
คือภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์เพิ่มขึ้นขึ้นสาเหตุจากภาวะที่เกิดมะเร็งภาวะที่ได้รับวิตามินดีมากเกินไปการได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ทำให้มีการดูดกลับของแคลเซียมมากภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemla) O อาการคลื่นไส้อาเจียนท้องผูกแน่นท้องลำไส้ไม่เคลื่อนไหวสับสนความจำเสื่อมซึมหมดสติปริมาณปัสสาวะเพิ่มขึ้นปัสสาวะบ่อยความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้นหัวใจเต้นผิดจังหวะหัวใจเต้นช้าการตอบสนองต่อรีเฟล็กซ์ลคลงหรือไม่มีกล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษาภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
ให้น้ำเกลือและยาขับปัสสาวะเพื่อที่จะขับแคลเซียมทิ้งหากไม่ได้ผลหรือผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจหรือไตอาจจะต้องพิจารณาให้การฟอกเลือด (hemodialysis) เพื่อที่จะขับ Ca ออกจากร่างกายติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ | ให้ยา corticosterold เพื่อไปแย่งจับกับ vitamin D ทำให้ลดการดูดซึม Ca ควบคุมอาหารอาหารที่มีระดับของแคลเซียมสูงการรักษาภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia) การผ่าตัดต่อมพาราไทรอยด์เมื่อภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเกิดจากต่อมพาราไทรอยด์ทำงานมากผิดปกติการรักษาด้วยยาเมื่อภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเกิดจากภาวะพิษจากไทรอยด์ฮอร์โมนการรักษามะเร็งด้วยการผ่าตัดให้ยาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษา
การพยาบาลภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
ประเมินการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) ประเมินอาการทางระบบประสาท (Neuro signs) ประเมินการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel signs) กระตุ้นให้มีการดื่มน้ำมาก ๆ ติดตามผล lab ให้อาการที่มีกากใยสูงเพื่อป้องกันภาวะท้องผูกให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลเพื่อป้องกันกระดูกหัก 82-83/171 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemla). มี / เสี่ยง / มีโอกาสเกิดภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเนื่องจาก ... •ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเนื่องจากเคลื่อนไหวไม่ได้และเป็นมะเร็งกระดูกท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมและระดับแคลเซียมในเลือดสูง
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia) คือมีระดับของ Ca ในเลือดน้อยกว่า 4 mg% มักพบในภาวะที่เจ็บป่วยเรื้อรังสาเหตุเกิดจากมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลงให้เลือดที่การเก็บไว้นานภาวะ albumin ในเลือดต่ำการเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบภาวะเครียดภาวะไตวายจะมีระดับของฟอสเฟตสูงทำให้ไปจับกับแคลเซียมหมดภาวะ Cushing's syndrome
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemla)
D อาการจะมีการชาตามนิ้วมือนิ้วเท้ามือจีบ (trousseau's slgn) และริมฝีปากเกร็งกระตุก (tetany) ** แขนขาเป็นตะคริวมีผลต่อระบบหัวใจหัวใจบีบตัวลดลงหัวใจเต้นผิดจังหวะความคันโลหิตต่ำระบบหายใจการเกร็งของกล้ามเนื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ การเกร็งของกล่องเสียงหายใจมีเสียงดังและหายใจลำบากภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemla) อาการ (ต่อ) ระบบทางเดินอาหารคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องลำไส้หยุดทำงานกระดูกมีภาวะกระดูกหักได้ง่ายค่าการแข็งตัวของเลือคนานขึ้น (prolong bleeding time) อ่อนเพลียวิตกกังวลกระสับกระส่ายสับสนชัก
การรักษาภาวะที่มีระดับของแคลเซียมตำ (hypocalcemla)
การรักษาคือกำจัดสาเหตุการให้แคลเซียมทดแทน ได้แก่ 10% แคลเซียมกลูโคเนตแคลเซียมคลอไรด์ L ดูแลเรื่องการหายใจติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจมีการให้วิตามินดีและเกลือแคลเซียมและอาหารที่มีฟอสเฟตต่ำ CALCIUM LUCONATE NAZIVO การรักษาภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia) การรักษา (ต่อ) ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเช่น D5w NSS ที่ผสมด้วยยาที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบดูแลให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงเช่นนมเนยกะปิปลาป่น
หลักการพยาบาลภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemla)
ดูแลให้ calcium ทดแทนติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจการหายใจให้สารน้ำทดแทนประเมินภาวะมือจีบ Trousse ลบ 's sign ติดตามผล lab, bleeding time สังเกตอาการเลือดออกตามอวัยวะต่างๆระมัดระวังเรื่องการจัดท่าการเคลื่อนไหวให้อาหารที่มี calcium สูงและมี phosphate ต่ำข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia) มี / เสี่ยง / มีโอกาส / ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำเนื่องจาก / พฤติกรรมสุขภาพ / และตับอ่อนอักเสบเฉียบพลันแบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหายใจและกล่องเสียงเพราะแคลเซียมในเลือดต่ำเสี่ยงต่อกระดูกหักเนื่องจากภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ / สภาพร่างกาย / และพฤติกรรมสุขภาพ
แมกนีเซียม (magnesium, Mg) แมกนีเซียมปริมาณของแมกนีเซียมขึ้นกับอาหารที่รับประทานการกระจายภายในร่างกายและหน้าที่ของไตแมกนีเซียมจะทำหน้าที่เป็นโคแฟคเตอร์ของเอนไซม์ต่าง ๆ ภายในร่างกายเพื่อที่จะทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemla) Mg <1.5 mEq / L สาเหตุเกิดจาก
T การที่ได้รับสารอาหารที่มี Mg น้อยไปหรือมีการสูญเสีย Mg ทางไตมากเกินการได้รับยาบางชนิดเช่นยาขับปัสสาวะยาในกลุ่ม aminoglycoside, amphotericin B, Digitalis ภาวะทุพโภชนาการเกิดจากภาวะ alcohollsm ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemla)
อาการ
นอนไม่หลับมองเห็นภาพหลอนกระสับกระส่ายสับสนระดับความรู้สึกตัวลดลงกล้ามเนื้อบิดเกร็งกล้ามเนื้อสั่นชาหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะความดันโลหิตสูงหายใจลำบากเนื่องจากกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็งเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนท้องเดินท้องอืด
การรักษาภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมตำ (hypomagnesemia)
การรักษาให้รับประทาน Magnesium oxide ให้ 50% Mg2SO4 (Magnesium sulfate) ผสมใน D5W ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemla)) กิจกรรมการพยาบาลประเมินสัญญาณชีพประเมินระดับความรู้สึกตัวบันทึก I / O แนะนำอาหารที่มีแมกนีเซียมมากเช่นอาหารทะเลธัญพืชและจมูกข้าวสาลีและอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินที่สูงดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยายาที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบ
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla). Mg> 2.5 mEq / L สาเหตุอาจเกิดจากการที่ไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพการให้ Mg ในหญิงตั้งครรภ์ผู้ป่วยโรคไตภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla)
อาการ
ระบบประสาทมีการกดการทำงานของระบบประสาททำให้เกิดอาการทางระบบประสาทง่วงซึมระดับความรู้สึกตัวกล้ามเนื้ออ่อนแรงระบบไหลเวียนเลือดความดันเลือดต่ำหลอดเลือดส่วนปลายขยายหัวใจเต้นช้าหัวใจเต้นผิดจังหวะระบบหายใจหายใจลำบากหายใจช้าเนื่องจากกล้ามเนื้อหายใจเป็นอัมพาตระบบทางเดินอาหารคลื่นไส้อาเจียนการรักษาภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla)
การรักษา
หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขับแมกนีเซียมทิ้งทางปัสสาวะงคยายาที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบดูแลเรื่องการหายใจติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจหลีกเลี่ยงอาหารที่มีแมกนีเซียมมากเช่นอาหารทะเลธัญพืชและจมูกข้าวสาลี
หลักการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla)
102-103/171 ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนอหวเจประเมินการหายใจประเมินอาการทางระบบประสาทติดตามผล lab
หลักการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla)
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจประเมินการหายใจประเมินอาการทางระบบประสาทติดตามผล lab ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemla). มี / เสี่ยง / มีโอกาส / ภาวะแมกนีเซียมในเลือดสูงเนื่องจาก. มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากระดับแมกนีเซียมสูง•แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่อง 104/171 อ่อนแรงจากภาวะแมกนีเซียมในเลือดสูง
ฟอสฟอรัส (Phosphorus) หน้าที่สำคัญของฟอสฟอรัสเป็นแหล่งสำรองพลังงานของเซลล์ต่างๆเกี่ยวข้องกับกลไกการสร้างพลังงานโคยช่วยปล่อยโมเลกุลของออกซิเจนจากฮีโมโกลบิน-รวมกับไขมัน (phospholipid) เพื่อเป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์-ช่วยในการทำงานของ Vit B-ช่วยกลไกการแข็งตัวของเลือดระบบภูมิต้านทาน-ช่วยสมดุลแคลเซียมและกรคค่าง
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemla) คือ
ภาวะที่ระดับฟอสเฟตในเลือด <2.2 mg / dl ไตสามารถปรับตัวโดยการลดการขับฟอสเฟตออกจากร่างกายหากไม่สามารถแก้สมดุลได้จะเกิดกลไกการดึงฟอสเฟตภายในเซลล์ให้เคลื่อนออกสู่กระแสเลือดเพื่อเพิ่มระดับฟอสเฟต 000 ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemla)
สาเหตุการได้รับอาหารไม่เพียงพอ
กับความต้องการของร่างกายเช่นการขาดอาหารการอดอาหารการดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง ได้แก่ การขาควิตามินดีการได้รับยาอะลูมิเนียมและแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบจึงทำให้กลไกการดูดซึมฟอสฟอรัสเข้าสู่ร่างกายถูกขัดขวางไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะการได้รับยาขับปัสสาวะการติดสุรา
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemla
) ภาวะเลือดเป็นกรดจากเบาหวานทำให้ปัสสาวะเพิ่มขึ้นร่วมกับการเคลื่อนย้ายฟอสเฟตเข้าสู่เซลล์พร้อมกลูโคสมากกว่าปกติการได้รับอินซูลินเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดทำให้ฟอสเฟตอิสระในเลือดถูกดึงให้เคลื่อนเข้าสู่เซลล์อย่างรวดเร็วพร้อมกับกลูโคสภาวะหลังการได้รับบาดเจ็บ, อาการปวดที่รุนแรงภาวะเลือดเป็นค่างจากการหายใจแบบเฉียบพลันต่อมไทรอยด์เป็นพิษภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemia)
อาการและอาการแสดง
ระบบประสาทส่วนกลางอ่อนเพลียอิดโรยสับสนชักและไม่รู้สึกตัวระบบกล้ามเนื้อและกระดูกกล้ามเนื้ออ่อนแรงกล้ามเนื้อสั่นชาปวดกระดูกกระดูกเปราะหักง่ายและข้อติดระบบไหลเวียนเลือดหัวใจล้มเหลวหัวใจเต้นผิดจังหวะซีคเกร็ดเลือดทำงานผิดปกติระบบหายใจหายใจเร็วขึ้นระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนตับทำงานผิดปกติ
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (hyperphosphatemla)) คือภาวะที่ร่างกายมีระดับฟอสเฟตในเลือด> 5.0 mg / dl หากระดับฟอสเฟตในเลือดสูงกว่า 6.0 mg / dl แสดงถึงภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงระดับรุนแรง
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (hyperphosphatemla) สาเหตุ
1 ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลงไตวายเรื้อรังการได้รับฟอสฟอรัสมาก ๆ เช่นการได้รับยาหรือสารเคมีที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบเช่นยาระบายยาส่วนอุจจาระยาลดกรดการได้รับยาสารน้ำหรือเลือคและส่วนประกอบของเลือดที่ใช้กรดซิเตรทเด็กซ์โทรสเพื่อต้านการแข็งตัวของเลือดมีการเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น
**
อาการเกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟตที่ผิวหนังและหลอดเลือดส่วนปลายและที่ตาทำให้เกิดการระคายเคืองและอักเสบกล้ามเนื้อเหน็บชากระตุกของกล้ามเนื้อมัดเล็กปวดกล้ามเนื้อหัวใจหัวใจเต้นผิดจังหวะความดันโลหิตต่ำช็อกระบบทางเดินหายใจน้ำท่วมปอดหายใจลำบากระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหารรุนแรงคลื่นไส้อาเจียนลำไส้ไม่เคลื่อนไหวปัสสาวะออกน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphateml )
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลันให้สารน้ำเช่น NSS D5N ทางหลอดเลือดดำเพื่อเพิ่มการขับฟอสเฟตส่วนเกินออกจากร่างกายทางปัสสาวะให้กลุโคสและอินซูลินเพื่อเพิ่มการเคลื่อนย้ายฟอสเฟตเข้าสู่เซลล์การล้างไตการรักษาภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphatemla) 2 การรักษาสภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรังงดการใช้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบให้รับประทานยาที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบให้ยาขับปัสสาวะการล้างไต
:
:
:
: :
:
: :
: :