Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง, image…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
แคลเซียม
(calcium, Ca)
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์
เพิ่มขึ้น สาเหตุจาก การได้รับยาขับปัสสาวะ thiazide ท้าให้มี
การดูดกลับของแคลเซียมมาก
อาการ ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษา ให้น้ำาเกลือและยาขับปัสสาวะ ให้ยา corticosteroid
การผ่าตัดต่อมพาราไทรอยด์ การรักษามะเร็ง ด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด
การพยาบาล ( EKG ) (Neuro signs) (Bowel signs)
ข้อวินิจฉัย
= มี/เสี่ยง/มีโอกาสเกิด ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง
เนื่องจาก..................
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia)
คือ มีระดับของ Ca ในเลือดน้อยกว่า 4 mg.%
มักพบในภาวะที่เจ็บป่วยเรื้อรัง สาเหตุเกิดจาก
มีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์ลดลง
ภาวะ cushing’s syndrome
จะมีการชา ตามนิ้วมือนิ้วเท้า มือจีบ (trousseau’s sign)
และริมฝีปากเกร็งกระตุก(tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว
อ่อนเพลีย วิตกกังวล กระสับกระส่าย สับสน ชัก
การรักษา การให้แคลเซียมทดแทน ได้แก่ 10%
แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมคลอไรด์ ,ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ,ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
การพยาบาล ประเมินภาวะมือจีบ Trousseau’s sign
ข้อวินิจฉัย มี/เสี่ยง/มีโอกาส/ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
เนื่องจาก/พฤติกรรมสุขภาพ/และตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
แมกนีเซียม
แมกนีเซียมจะท้าหน้าที่เป็นโคแฟคเตอร์ ของเอนไซม์
ต่าง ๆภายในร่างกายเพื่อที่จะท้าหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์
ภาวะที่ร่ํางกํายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemia)
Mg < 1.5 mEq/L
สาเหตุ เกิดจาก การที่ได้รับสารอาหารที่มี Mg น้อยไปหรือมีการ
สูญเสีย Mg ทางไตมากเกิน ,เกิดจากภาวะ alcoholism
อาการ หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
การรักษา ให้รับประทาน Magnesium oxide , ให้ 50% Mg2SO4
(Magnesium sulfate) ผสมใน D5W
การพยาบาล แนะนำอาหารที่มีแมกนีเซียมมาก เช่น อาหารทะเล ธัญพืชและจมูกข้าวสาลี และอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
ข้อวินิจฉัย มี/เสี่ยง/มีโอกาส/ภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
เนื่องจาก.........
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemia)
Mg > 2.5 mEq/L
สาเหตุ อาจเกิดจาก การที่ไตท้างานไม่มีประสิทธิภาพ
อาการ ระบบประสาทกดการทำงาน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือด ความดันเลือดต่ำ หายใจล้าบาก หายใจช้า
คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขับแมกนีเซียม
ทิ้งทางปัสสาวะ ,ดูแลเรื่องการหายใจ ,ติดตามการท้างานของกล้ามเนื้หัวใจ , หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแมกนีเซียมมาก
ข้อวินิจฉัย มี/เสี่ยง/มีโอกาส/ภาวะแมกนีเซียมในเลือดสูง เนื่องจาก.........
ฟอสฟอรัส (Phosphorus)
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemia) คือ ภาวะที่ระดับฟอสเฟตในเลือด < 2.2 mg/dl
สาเหตุ การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ,การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง ,ไตเพิ่มการสร้างและขับปัสสาวะ การได้รับยาขับปัสสาวะ ,การติดสุรา
อาการ ระบบประสาทส่วนกลาง อ่อนเพลีย อิดโรย สับสน , ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง ,ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจล้มเหลว ,ระบบหายใจ หายใจเร็วตื้น ,ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา ให้รับประทานอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (hyperphosphatemia) > 5.0 mg/dl
สาเหตุ ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง ,
การได้รับยา สารน้ำ หรือเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ใช้กรด
ซิเตรทเด็กซ์โทรส
อาการ เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟต ,กล้ามเนื้อ เหน็บชา กระตุกของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ,หัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำ
การรักษา
1.การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลัน = ให้สารน้ำ เช่น NSS , D5N
, ให้กลุโคสและอินซูลิน ,การล้างไต
การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง = งดการใช้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ ,ให้รับประทานยาที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ ,ให้ยาขับปัสสาวะ
อาการและอาการแสดงในภาวะเสียดุลน้ำอย่างเดียว
ภาวะน้ำเกิน
กระหายน้ำ สับสน ความเข้มข้นของปัสสําวะเพิ่มมากขึ้น ระดับของฮีโมโกลบิน เเละอัมบูมินเพิ่มขึ้น น้ำหนักลด
ภาวะขาดน้ำ
สับสน ความเข้มข้นของปัสสาวะลดลง มีปริมาณของโซเดียมลดลง ระดับของฮีโมโกลบิน เเละอัมบูมินลด น้ำหนักเพิ่ม
อาการและอาการแสดงในภาวะเสียดุลน้ำร่วมกับอิเล็คโทรลัยท์
ภาวะขาดน้ำและอิเลคโทรลัยท์
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง กระหายน้ำ ความดันโลหิตต่ำ ปัสสาวะออกน้อย
ภาวะน้ำและอิเลคโทรลัยท์เกิน
หายใจลำบาก บวม มีภาวะpulmonary crepitation น้ำหนักเพิ่ม ปัสสาวะออกมาก
สมดุลของกรด – ด่าง
(acid - base balance )
ค่าปกติ มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ใน เลือดด้า (venous blood pH)
มีค่าประมาณ 7.35 pH , pH ส่วนภายในเซลล์มีค่าเป็น 7.0 – 7.2
หาก pH ของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปจากค่าปกติจะ มีผลทำให้
ปฏิกิริยาเคมีของเซลล์เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ถ้าร่างกายอยู่ในสภาวะ ที่เป็นด่างมากเกินไป (alkalosis) คือ ค่า pH มากกว่า 7.8 อาจท้าให้เกิดการชักกระตุก หรือชัก (convulsion) และเสียชีวิตได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะไม่สมดุลของกรด-ด่าง
ระบบบัฟเฟอร์ คือสารละลายกรดอ่อนหรืออ่างอ่อนซึ่งสามารถลด
การเปลี่ยนแปลงของ pH ในภาวะที่ได้รับกรดหรือด่างได้ pH ทำให้เปลี่ยนแปลงไม่มาก
ระบบการหายใจเมื่อมีการไม่สมดุลของกรด-ด่างร่างกายจะมีการหายใจแรงและลึกเพื่อขับกรดคาร์บอนิคออกไปเพื่อปรับให้ pH
เข้าสู่ภาวะปกติ
ระบบการขับถ่ายปัสสาวะไตจะทำหน้าที่ในการขับด่างออกจากร่างกายเพื่อช่วยให้ pH เป็นปกติเร็วขึ้น
ร่างกายได้รับกรดจากอาหารต่างๆดังนี้ กรดเกลือ (acid salt) ,
อาหารโปรตีนและฟอสโฟลิปิด ,ผลไม้เช่น ลูกพรุนให้กรดก้ายาน
ภาวะกรดจากการเผาผลาญ (Metabolic acidosis)
เป็นภาวะที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนในเลือค
หรือน้ำนอกเซลล์สูงกว่าปกติเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ของระบบเมตาบอลิซึมทำให้เลือดเป็นกรด
สาเหตุ
กรดเพิ่มในน้ำนอกเซลล์
สูญเสียค่างออกจากน้ำนอกเซลล์
อาการแสดง โปแตสเซียมในเลือดสูง ,หายใจเร็ว ลึก ,กล้ามเนื้ออ่อนแรง ,คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
การรักษา แก้ไขภาวะกรดโดยการให้ไบคาร์บอเนตทดแทน ,แก้ไขสาเหตุ เช่น ให้อินซูลินในรายที่เป็นเบาหวาน DKA ,แก้ไขภาวะสมดุลของเกลือแร่
การพยาบาล ป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วย ยกไม้ข้างเตียงขึ้น , ติดตามสัญญาณชีพ การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต ,
ดูแลเรื่องสมดุลกรดด่างและสมดุลเกลือแร่
ภาวะด่างจากการเผาผลาญ (metabolic alkalosis) เป็นภาวะที่
ร่างกายมีการสูญเสียไฮโดรเจน ไอออน pH อาจปกติหรือสูงกว่าปกติ
ทำให้เลือดเป็นด่าง , การได้รับยาขับปัสสาวะจึงขับโปแตส
เซียมและไฮโดรเจนไอออน
ตอบสนองต่อการรักษาด้วย saline โดยเป็น metabolic alkalosis
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย saline โดยเป็น metabolic alkalosis
อาการ ระบบหายใจ หายใจช้า ตื้น , หัวใจเต้นเร็ว อาจมีหัวใจเต้นผิด ,สับสน ชัก หมดสติ ,อาจคลื่นไส้อาเจียน
การรักษา ปรับสมดุลกรดด่าง, แก้ไขภาวะสมดุลของเกลือแร่
การพยาบาล ติดตามการหายใจ , ฟังเสียงปอด ,ดูแลเรื่องสมดุลกรดด่างและสมดุลให้สารน้ำและเกลือแร่
ภาวะกรดจากการหายใจ (respiratory acidosis) เป็นภาวะที่
ระบบการหายใจผิดปกติทำให้มีกรดคาร์บอนิคคั่ง pH อาจปกติ
หรือต่ำกว่าปกติซึ่งจะทำให้เลือกเป็นกรด (acidemia)
พบในผู้ป่วยหลัง arrest ผู้ป่วยที่มีสภาวะของปอดทำงานได้ไม่
เต็มที่ ,ได้รับยาในกลุ่มสงบระงับหรือยาสลบเกินขนาด
อาการและอาการแสดง ระบบหายใจ หายใจช้าลงหรือหยุดหายใจ ,ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็วหรืออาจเต้นผิดจังหวะ ,ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ มึน สับสน กระสับกระส่าย ,ระบบ
ทางเดินอาหาร อาจคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
การรักษา ปรับสมดุลกรดด่าง ,แก้ไขภาวะสมดุลของอิเลคโตรลัยท์
การพยาบาล จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่า semi-Fowler’s ,กระตุ้นให้
ผู้ป่วยไอและหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ ,ติดตามการหายใจ
ค่า Arterial blood gas
ภาวะด่างจากการหายใจ (respiratory alkalosis) ป็นภาวะที่
มีการระบาย CO2 มากเกินไปเนื่องมาจากความผิดปกติของระบบ
หายใจทำให้เลือดเป็นด่าง
สาเหตุ มีการหายใจเร็ว ,ได้รับยา ASA เกินขนาด ,มักจะพบในผู้ป่วย
ที่อยู่ในภาวะ acute และ chronic hypoxia
การรักษา ลดการหายใจหอบเร็วของผู้ป่วยลง ,แก้ไขสาเหตุ เช่น
ให้ยาสงบประสาทในรายวิตกกังวล ,แก้ไขภาวะสมดุลของอิเลคโตรลัยท์
การพยาบาล ช่วยลดการหายใจเร็วในผู้ป่วย โดยให้หายใจช้าและลึก
มากขึ้นให้หายใจในถุงกระดาษ ,
Mixed acid-base disorders เกิดจากความล้มเหลว
ของกลไกการชดเชยของร่างกายหรือเกิดจากกลไกการ
ชดเชยของร่างกายที่มากเกินไป
การรักษา
Mixed respiratory acidosis และ metabolic acidosis โดยลด PaCO2 ด้วยการเพิ่มอัตราการ หายใจและให้ sodium bicarbonate รวมทั้งให้oxygen
Mixed respiratory alkalosis ba: metabolic alkalosis โดยให้ NaCl และ KCI และปรับอัตราการหายใจให้อัตราการหายใจลดลง
Mixed respiratory alkalosis ua: metabolic acidosis แก้ที่สาเหตุโดยตรง
Mixed metabolic alkalosis was respiratory acidosis โคยรักษาระดับ PaCO, และ 0, ให้อยู่ในระดับปกติลดระดับ Serum bicarbonate ร่วมกับการให้ NaCl และ KCI และ
ปล่อยให้ไตขับ bicarbonate ที่คั่งอยู่ออกไป
การประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วยโดยใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ระดับความรู้สึกตัวจะกลับมาปกติหรือเหมือนก่อนเกิดความไม่สมดุลของกรด-ด่าง
อัตราของการหายใจและ tidal volume ปกติ
อัตราเร็วและจังหวะของการเต้นของหัวใจปกติ
ปลายมือปลายเท้าอุ่น
อิเลคโตรลัยท์ปกติ
เจาะ arterial blood gas ทุก 2 -4 ชม.
ในช่วง acute phase เพราะความผิดปกติหาก
ผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจให้ลงบันทึกการตั้งค่าของ
เครื่องขณะที่เจาะในผล ABG นั้นด้วย