Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุลสารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง - Coggle…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุลสารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
สารน้ำ (fluid)
น้ำและสารประกอบ ที่ละลายอยู่ในน ้า
ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์ทั้งประจุบวกและลบ
รวมถึงโปรตีนกลูโคลและไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน ้า
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Aldosterone
Antidiuretic hormone (ADH)
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื นต่อเนื อเยื่อของร่างกาย เช่น ปาก ตา จมูก
หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื อเยื่อ
น้ำในร่างกาย
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 %
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
ภาวะขาดน้ำ( hypovolemia)
สาเหตุ
primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด
จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน ้าดื่มหรือ เกิดการบาดเจ็บรุนแรง
หมดสติ
secondary dehydration เกิดจากการเสียน ้าที่มีการเสียอิเลค
โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียมเช่น การเกิดการอาเจียน
ท้องร่วง หรือมีการขับปัสสาวะออกมาก
อาการ
ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน ้าลาย ริมฝีปากแห้งน้ำหนักลด หัว
ใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
การพยาบาผู้ป่วย hypovolemia
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัวระดับความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
ดูแลความสะอาดปากฟัน
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก โดยจะต้องมีน้ำออกไม่น้อยกว่า
30 cc/hr
ภาวะน้ำเกิน
(hypervolemia)
water intoxication เป็น ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า60%
ของน ้าหนักตัว ECF มากกว่าปกติ60%
ของน ้าหนักตัว ECF มากกว่าปกติ
สาเหตุ
การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป
ได้รับยา corticosteroid
มีการอุดกันของทางเดินปัสสาวะ
มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ
pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจลำบาก ไอมาก
congestive heart failure
neck vein engorged
น้ำหนักเพิ่มมากขึ น อาจมีอาการชัก
บวมตามปลายมือปลายเท้า
ความดัน โลหิตเพิ่มขึ น
การพยาบาลhypervolemia
ดูแลจ้ากัดน้ำและเกลือ
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว
บันทึกปริมาณน้าเข้าออก (I/O)
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ
ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability
อาการ
หลอดเลือดด้าที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement)
ชีพจรแรง หายใจล้าบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ผื่น แดง
น ้าหนักขึ น ร้อยละ 5
การตรวจร่างกาย
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดที่คอโป่ง
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
การที่มีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น
ภาวะที่มีระดับของinsulin เพิ่มสูงขึ น มะเร็ง ภาวะ
ด่างจากการเผาผลาญ(metabolic alkalosis)
แก้ไขสาเหตุ
ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท มัน
ฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม
ภําวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน
(hypernatremia)
อาการทั่วไป มีไข้ต่ำๆ กระหายน้ำมาก
ผิวหนัง บวมแดง ปากแห้ง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็ว
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemla)
หัวใจ มีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง หัวใจเต้นเร็ว
มากกว่า 100 ครั้ง/นาทีต่อมาเต้นช้ากว่าปกติสุดท้ายหัวใจจะหยุด
ภําวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียม
เกิน (hypercalcemia)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์
เพิ่มขึ น
ภาวะที่เกิดมะเร็ง
ภาวะที่ได้รับวิตามินดีมากเกินไป
การได้รับยาขับปัสสาวะ
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ
(hypocalcemia)
อาการ จะมีการชา ตามนิ้วมือนิ้วเท้า มือจีบ (trousseau’s sign)
และริมฝีปากเกร็งกระตุก(tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว