Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์ (Drug addict pregnancy)
ปัจจัยส่งเสริม
• กลุ่มที่มีอายุน้อย
• มีปัญหาครอบครัวและฐานะยากจน
แบ่งเป็น 2 กลุ่มมใหญ่
• central nervous system stimulant
• central nervous system depressions
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
• ด้านสตรีตั้งครรภ์
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและไม่มาฝากครรภ์
ผลข้างเคียงของสารเสพติดที่ใช้
ติดเชื้อจากการฉีดสารเสพติดเข้าทางหลอดเลือดดำ
เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น
มีสัมพันธภาพไม่ดีกับทารก
ไม่มีความพร้อมต่อการเลี้ยงดูบุตร
• ด้านทารก
เกิดการแท้งเอง
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
อัตราตายปริกำเนิดสูงขึ้น
ทารกพิการแต่กำเนิด
มีอาการ fetal alcohol syndrome
มีภาวะขาดยา Mebodental abscess syndrome
การประเมินและวินิจฉัย
• การซักประวัติ และการสังเกตอาการและอาการแสดงของการใช้สารเสพติดชนิดต่างๆ
• การตรวจร่างกายพบร่องรอยของการใช้สารเสพติด
• การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบสารเสพติดในปัสสาวะ
แนวทางการรักษาการดูแล
• สืบค้นการใช้สารเสพติด
• ให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
• พบความผิดปกติแต่กำเนิดของทารกพิจารณายุติการตั้งครรภ์ตามข้อบ่งชี้
• การดูแลในระยะคลอด
ประเมินสารเสพติดในปัสสาวะและดูแลเช่นเดียวกับสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ดูแลเรื่อง pain management
เตรียมอุปกรณ์และทีมให้พร้อม
• การดูแลภายหลังคลอด
ช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้ยา
ประเมินความสามารถในการดูแลทารก
ตรวจเยี่ยมสุขภาพรวมถึงสภาพจิตใจและสังคม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติด
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
ประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
ส่งต่ออย่างเหมาะสม
ระยะคลอด
การบรรเทาความเจ็บปวดอย่างเหมาะสม
เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการคลอด
รายงานกุมารแพทย์เพื่อเตรียมดูแลทารกแรกเกิด
ระยะหลังคลอด
ประเมินความสามารถในการดูแลทารกและแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
ดูแลได้ให้คำแนะนำเรื่องการเลี้ยงดูบุตร
อธิบายให้เห็นความสำคัญของการคุมกำเนิดและให้คุมกำเนิดหลังคลอดทันที
สนับสนุนช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติดอย่างต่อเนื่อง
ให้การพยาบาลตามภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
• เพื่อส่งเสริมการปรับตัว และสัมพันธภาพระหว่างมารดา ทารกและครอบครัว
สร้างสัมพันธภาพกับสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวพูดคุย
ให้การดูแลด้านจิตสังคมอย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้เรียนรู้ร่วมกับกลุ่มต่างๆ
ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
(Advance maternal age pregnancy/elderly)
หมายถึง การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุมากกว่า 35 ปี นับตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงกำหนดคลอด
การตั้งครรภ์ครั้งแรกในสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก เรียกว่า Elderly primigravidarum
ปัจจัยส่งเสริม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ค่านิยม
การเจริญทางเทคโนโลยี
สื่อ
ระดับการศึกษา
สภาพแวดล้อม
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรซ้อนในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
ถ้าใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ มีโอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์แฝดสูงขึ้น
ด้านจิตสังคม ทำให้สับสนในบทบาท ปรับตัวต่อการตั้งครรภ์ช้า มีความเครียด วิตกกังวล
ผลกระทบต่อทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ Down syndrome
ภาวะทารกตัวโต
การคลอดก่อนกำหนด
ทุพพลภาพ ทารกเสียชีวิตแรกคลอด (stillbirth)
แนวทางการรักษา
ประเมินโรคทางอายุรกรรม
ถ้าไม่มีความผิดปกติให้ดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไปทั้ง 3 ระยะ
ถ้าพบความผิดปกติให้ดูแลตามภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
การพยาบาล
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
ระยะก่อนตั้งครรภ์
วางแผนการตั้งครรภ์ด้วยการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ปกติ
ระยะคลอด
ดูแลเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ปกติ เน้นดูแลส่งเสริมความก้าวหน้าการคลอด ป้องกันการคลอดยาวนาน
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ปกติ เน้นเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
เพื่อลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการปรับตัวของสตรีตั้งครรภ์และทารก
สร้างสัมพันธภาพ
เปิดโอกาสให้พูดคุย ระบายความรู้สึก
ถ้าจำเป็นต้องยุติการตั้งครรภ์ ควรดูแลให้สตรีตั้งครรภ์เผชิญกับความเศร้าได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้เรียนรู้ร่วมกับกลุ่มต่างๆ