Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมของสถานศึกษาเพื่อรับ การประเมินคุณภาพภายนอก - Coggle Diagram
การเตรียมของสถานศึกษาเพื่อรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก
หลักการ
หลักการที่ 1 การประกันคุณภาพภายนอกต้องมีการเชื่อมโยงกับระบบประกันคุณภาพในของสถานศึกษาร่วมรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึงผลของการจัดการศึกษา
หลักการที่ 2 ต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมคุณภาพการศึกษาสู่สากล
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินภายนอก
บทบาทหน้าที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถานศึกษา
ระดับสถานศึกษา
ดำเนินการตามแผนที่วางไว้
ประเมินผลและตรวจสอบ
จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ติดตามผลการดำเนินงาน
กำหนดมาตราฐานการศึกษา
จำทำรายงานผลการประเมิน
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ โดยดูจากรายงานผลการประเมินตนเอง
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รวบรวมและสังเคราะห์ ส่งต่อให้สำนักงานรับรองมาตรฐาน เพื่อใช้ในการประเมินภายนอก
ติดตามผลดำเนินงาน
ศึกษา วิเคราะห์ แล้วรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้ความร่วมมมือ
มีการมอบหมายผู้ที่ไม่ได้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์
แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อเข้ารับการประเมิน แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้
ระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอก
คอยอำนวยความสะดวก ให้ข้อมูลข้อเท็จจริง ประสานงานกับกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งร่วมรับฟังการนำเสนอการประเมินด้วยวาจา โดยระหว่างการประเมิน สถานศึกษาสามารถทำการสอนได้ตามปกติ
ก่อนการรับประเมินคุณภาพภายนอก
ด้านการจัดกิจกรรมการศึกษา ที่เป็นหลักฐานแสดงถึงความหร้อมการจัดการศึกษา
ด้านอาคารสถานศึกษาที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียน
ด้านบุคลากร ประชุมทำความเข้าใจเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมิน
ด้านเอกสารหลักฐาร ร่องรอย ตรวจสอบความถูกต้อง
หลังการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาโต้แยงการประเมินได้
วิเคราะห์ผลการประเมินผล
ผู้บริหารสถานศึกษา รวมทั้งครู รวมกันตรวจสอบรายงานผลการประเมินภายนอก และแจ้งผลการประเมิน
วัตถุประสงค์
2.ช่วยดึงข้อมูลที่ช่วยสะท้อนจุดเด่นจุดอ่อน และสาเหตุ เพื่อแก้ไขปัญหา
3.เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางการปรับปรุง
1.เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินการประเมินของสถานศึกษาในทุกขั้นตอน
4.เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพในอย่างต่อเนื่อง
5.เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตราฐานการศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อสาธารณะ
แนวคิด
2.เน้นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพการศึกษาแบบยั่งยืน
3.ให้ความสำคัญของการประเมิน เพื่อจะได้รู้ถึงข้อบกพร่องของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาได้อย่างตรงจุด
1.ใช้กลไกเพื่อกระตุ้นแรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการบริบทพื้นที่
4.สร้างความโดดเด่นให้เป็นที่รู้จัก ทั้งในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ
ความหมาย
เป็นการประเมินตรวจสอบ จากหน่วยงานภายนอกที่ทำหน้าที่ ประเมินตามมาตราฐาน อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี เพื่อกระตุ้น จูงใจให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพต่อไปให้สูงขึ้นกว่าเดิม
การประเมินคุณภาพภายนอกเป็นกรประเมินคุณภาพเชิงคุณภาพ เน้นหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่สะท้อนผลลัพธ์การดำเนินงาน โดยตัดสินจากผู้เชี่ยวชาญ
กรอบแนวทางการประเมิน
การประเมินคุณภาพมาตราฐาน
ประเมินตามพันธกิจและบริบทของสถานศึกษาเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน
การประเมินความโดดเด่น
เป็นการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศทางการศึกษา
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายนอก
คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตวรจเยี่บม เก็บรวบรวมข้อมูลเชิ
คุณภาพทร้วมทั้งทำรายงานผลประเมินด้วยวาจา
คณะผู้ประเมินภายนอกพิจราณาการดำเนินงานของสถานศึกษา
สมศ.วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
สถานศึกษาประเมินตนเอง และส่งรายงานผลให้หน่วยงานต้นสังกัดวิเคราะห์ SAR ส้งให้ สมศ.
คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก พร้อมข้เสนอ ปรับปรุงแล้วส่งให้ สมศ รับรองผลการประเมิน