Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิทธิและสวัสดิการสังคม - Coggle Diagram
สิทธิและสวัสดิการสังคม
สิทธิ
สิทธิชุมชน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 46 มีข้อจำกัดในการนำมาบังคับใช้เพื่อแก้ปัญหาข้อพิพาทที่เกิดขึ้นอยู้พอควร
-
สิทธิมนุษยชน
ถือเป็นสิทธิที่มีมาตั้งแต่เราเกิดมา เพราะทุกคนมีคุณค่าในฐานะมนุษย์ที่เกิดมา เรียกว่า มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ แม้มนุษย์มีความแตกต่างกัน แต่มีค่าเหมือนกัน
-
พลเมือง
ป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับสังคมในระบอบประชาธิไตยเนื่องจากประชาชนที่มี
สำนึกพลเมืองย่อมตระหนักในคุณค่าแห่งความเป็นพลเมืองของตน
ประชาธิปไตย
เป็นระบอบการปกครองที่เชื่อว่า การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนเท่านั้น ที่จะทำให้ประชาชนมีอิทธิต่อผู้ตัดสินใจและผู้กำหนดนโยบาย
-
-
นโยบาย
นโยบายสาธารณะ
เป็นแนวทางปฎิบัติงานของรัฐที่ตัดใจให้มีการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เนื่องจากส่งผลต่อประชาชน
นโยบายสาธารณะ นโยบายสังคม และสวัสดิการสังคม
ทั้ง3สิ่งนี้ล้วนมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันในลักษณะของลำชั้น โดยนโยบายสาธารณะจะครอบคลุมนโยบายสังคม และนโยบายสังคมก็ครอบคลุมสวัสดิการสังคม
นโยบายสังคม
นโยบายสังคมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสาธารณะ และ สวัสดิการสังคมก็เป็นนโยบายของสังคมที่สามารถกำหนดชั้นได้เองโดยองค์กรต่างๆ
สวัสดิการสังคม
สวัสดิการสังคมทั้งที่อยู่ในรูปแบบของการบริการสังคม กาประกันสังคม การช่วยเหลือสังคม และการสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม
ความเสมอภาค
จะแตกต่างกับความเท่าเทียม ไม้ได้เรียกร้องให้ปฎิบัติอย่างเท่าเทียมกันอย่างสิ้นเชิง เพราะเป็นกรณีที่ต้องเปรียบเทียบกันระหว่างข้อเท็จ 2 ขอเท็จจริง หรือบุคคล 2 คน
-
ความเป็นธรรมทางสังคม
มีความซับซ้อนกว่าความยุติธรรมในทางกฎหมายถึงแม้ความยุติธรรมในทางกฎหมาย จะแสดงให้เห็นว่ากฎหมายสามารถที่จำนำไปสู่ความเป็นธรรมได้
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม(ฉบับที่2) พ.ศ.2550 ถือเป็นกฎหมายแม้บทของการจัดสวัสดิการทางสังคม รวมถึงพระราชบัญญัติที่คุ้มครอง พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่6) พ.ศ.2560 เหล่านี้ถือเป็นบทบัญญัติแห่งรัฐ ที่ช่วยหนุนเสริมการขับเคลื่อนสวัสดิการสังคมให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ อันนำมาซึ่งความอยู่ดีมีสุข มีสิทธิทางสังคมของประชาชน ในการเข้าถึงสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
เปรียบได้ดั่งการสร้างจุดแข็งให้กับการพัฒนา ที่คำนึงถึงดุลยภาพระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน ส่วนในอีกด้านหนึ่งนั้นการพัฒนาที่ยั่้งยืนเปรียบเหมือนเป้าหมายการขับเคลื่อนในเรื่องสิทธิและสวัสดิการสังคม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบับที่12 (พ.ศ. 2560-2564)
รวมถึงรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศก็ชี้ให้เห็นทิศทางในการขับเคลื่อนประเทศที่ตามเป้าหมายการพัฒนาที่่ยั่งยืนบนฐานสิทธิ และสวัสดิการสังคมด้วยเหมือนกัน