Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การมีส่วนร่วมในการพัฒนา การมีส่วนร่วมในโครงการ เเละการพัฒนาเเบบมีส่วนร่ว…
การมีส่วนร่วมในการพัฒนา
การมีส่วนร่วมในโครงการ
เเละการพัฒนาเเบบมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ลักษณะ
สะท้อนถึงนัยการกระจายอำนาจของรัฐที่มีต่อประชาชน โดยที่บทบาทของประชาชนจะเพิ่มขึ้นตามระดับการมีส่วนร่วม
ประชาชนกับหน่วยงานภาครัฐร่วมมือกัน
ผลงานทางวิชาการที่มีบทบาทต่อการพัฒนาทฤษฎีการมีส่วนร่วมในช่วงเเรก
สำนักวิจัยปฏิบัติการละตินเเห่งอเมริกา
Robert Chambers ในชื่อหนังสือ
Rural development : Putting People first 1983
หนังสือ Putting people first : Sociaological variables 1985
Nici Nelson and Susan Wright 1996
การมีส่วนร่วมในโครงการ
ลักษณะ
ประชาชนผู้รับประโยชน์จากโครงการเข้ามามีส่วนร่วม
บุกเบิกเเละเผยเเพร่โดยเจ้าหน้าที่รัฐ
มุ้งเน้นบทบาทของเจ้าหน้าที่รัฐเป็นด้านหลัก
การมีส่วนร่วมในช่วงเเรกสุดนั้นเกิดจากการมีโครงการพัฒนา
วิธีการส่งเสริม
หวังเพียงเเค่ให้ผู้มีส่วนร่วมได้รับประโยชน์ เเต่ไม่ได้มองลงไปไกลถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างทางอำนาจ
แนวทางกสรพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
จุดกำเนิด
มาจากประเทศซีกโลกใต้
มาจากประเทศซีกโลกเหนือ
มาจากกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนที่อยู่ทั้งซีกโลกเหนือเเละใต้
งานวิจัยของธนาคารโลกปี 1994 ได้กำหนดรูปแบบการมีส่วนร่วม เเละระดับของการมีส่วนร่วม
งานวิจัยของธนาคารโลกปี 1995 เริ่มมีการยอมรับว่าการมีส่วนร่วมเป็นเเนวทางสำคัญในการพัฒนา
งานวิจัยของธนาคารโลกปี 1990
พบว่าการมีส่วนร่วมระดับสูงมีน้อยกว่าระดับต่ำมาก
จำเป็นต้องยกระดับการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์นโยบาย การออกเเบบนโยบาย
ส่งเสริมการมองประชาชนอย่างมีคุณค่า
เปิดเผยความไม่รู้เเละความเย่อหยิ่งว่าได้ทำลายโครงการพัฒนาชนบทไปอย่างมาก
วิจารณ์การวางแผนพัฒนา
เนื้อหาบอกว่า สนใจเเต่เทคนิคเเละการวางแผนการเงิน ไม่สนใจมุมมองทางสังคมวิทยยา
จุดประกายถกเถียงเรื่องการมีส่วนร่วมเอาไว้ 4 ประการ
ปลดปล่อยคนจนจากคนร่ำรวยเเละมีอำนาจ
ต้องการเผยเเพร่อุดมการณ์ตลาดเสรีไปทั่วโลก
มองว่าการพัฒนาที่เริ่มต้นจากข้างล่างเป็นเเนวทางที่ประสบความสำเร็จที่สุด
ปลายปี 1980 กำเนิดคำว่า
การมีส่วนร่วมของประชาชน