Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การสร้างเสริมสัมพันธภาพเพื่อการดูแลและให้บริการ, นางสาวอาภาภรณ์…
บทที่ 5 การสร้างเสริมสัมพันธภาพเพื่อการดูแลและให้บริการ
5.1แนวคิด และหลักการสร้างสัมพันธภาพ
ใช้ทักษะในการสื่อความหมายเพื่อเข้าใจ พฤติกรรมของผู้ใช้บริการและนาความสามารถส่วนบุคคลที่มีอยู่นั้นมาใช้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีสุขภาพดีขึ้น
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว (Peplau’s Interpersonal Relations Theory)เน้นบทบาทของพยาบาลใน
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด เป็น”หัวใจสาคัญ” ของการพยาบาล โดยจะต้องวางแผนล่วงหน้า
รูปแบบ Therapeutic nurse-patient relationship โดยพยาบาลมีความตระหนักถึงความสามารถ และคุณค่าของตน
พฤติกรรมของตนเองและของผู้ใช้บริการ สามารถช่วยให้ผู้ใช้บริการเกิดความเข้าใจถึงปัญหาของเขา แบ่งเป็น 4 ระยะ
2.Identification(ระยะระบุปัญหา และความต้องการบริการ)
Exploitation (ระยะการแก้ปัญหา และใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ)
1.Orientation(ระยะเริ่มต้น)
Resolution (ระยะปัญหาคลี่คลาย และยุติสัมพันธภาพ)
5.2เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการดูแลและให้บริการ
เทคนิคที่ช่วยให้ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
เทคนิคที่ช่วยให้ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
Giving recognitionการกล่าวเรียกชื่อทักทาย การรู้จัก จาได้ เรียกชื่อเขาได้ถูกต้อง“สวัสดีค่ะคุณ…….”
Giving informationการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย “ดิฉันชื่อ…..เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จาก…….” “เจ้าหน้าที่จะพาคุณไป…….” “การเข้าร่วมกลุ่มจะทาให้คุณมีสัมพันธภาพที่ดีและปรับตัวได้ดีขึ้น”
Offering selfการเสนอตัวเองให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยให้เขารับรู้ว่ายังมีคุณค่า “ดิฉันจะนั่งเป็นเพื่อนคุณสักครู่”
“ไปเดินเล่นทีสนามหญ้ากันไหมคะ”
การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบาบัด
การตระหนักรู้ในตนเอง (Self -Awareness) : รู้เท่าทันอารมณ์ตัวเอง รู้ถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดความรู้สึกนั้นๆ(Goleman,1998) และคาดคะเนผลที่จะเกิดตามมา
สามารถจัดการกับความรู้สึกนั้นได้ มั่นใจ เชื่อมั่นในความสามารถและความมีคุณค่าของตน ประเมินตนเองได้ตามความเป็นจริง
การใช้ตนเองเพื่อการบาบัด (Therapeutic Use of Self) : เมื่อพยาบาลตระหนักรู้ในตนเอง นั่นคือรู้เท่าทันความคิดความรู้สึกของตนเอง ส่งผลให้สามารถเข้าใจความรู้สึกนึกคิด
พฤติกรรมของผู้ป่วยได้ตรงตามความเป็นจริง พยาบาลจะใช้ตนเองเป็นเครื่องมือในการบาบัดโดยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย
มโนมติพื้นฐานในการรู้จักตนเอง
1.2 อัตมโนทัศน์ (SelfConcept) ความคิด การรับรู้ การมองตน แบ่งเป็น 2ด้าน ได้แก่
1.1 อัตตา(Self) ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรม
-ด้านร่างกาย(Physical Self) รับรู้สรีระ ความสามารถ การควบคุม
-ส่วนบุคคล (Personal Self) แบ่งเป็น 4 ด้าน 1 ศีลธรรมจรรยา
2 ความสม่าเสมอแห่งตน 3 ความคาดหวัง และ 4การยอมรับนับถือตนเอง
1.3ความตระหนักรู้ในตนเอง(SelfAwareness)
ความตระหนักรู้ในตนเอง และการพัฒนา
ความตระหนักรู้ในตนเองในฐานะบุคคล(Self as a Person) ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ(ปัญญา,ศีลธรรม)
ความตระหนักรู้ในตนเองในฐานะวิชาชีพ(Self as a Professional)
การพัฒนาการรู้จักตนเอง หน้าต่างโจฮารี
คุณลักษณะ
คุณลักษณะของผู้สื่อสารเพื่อการบาบัดที่มีประสิทธิภาพ
ให้เกียรติ เคารพความเป็นบุคคลของผู้ป่วย (Respect)
เป็นผู้ตระหนักรู้เข้าใจตนเอง (Self Awareness)
เข้าใจความรู้สึกผู้ป่วย(Empathy)
ยอมรับผู้ป่วยโดยไม่มีเงื่อนไข (accept)
รู้จักดูแลเอาใจใส่ (Caring)
จริงใจ ไว้วางใจได้(Trust)
มีทัศนคติที่ดี จริงใจไม่เสแสร้ง และไม่อคติต่อผู้ป่วย
องค์ประกอบของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด
องค์ประกอบของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด
การสร้างความไว้วางใจ (Trust) ท่านไว้ใจคนอย่างไร
ความจริงใจ (Genuineness) แค่ไหนเรียกจริงใจ
การเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้ป่วย(Empathy)เช่น “คุณรู้สึกว่า.....”
ผป. :ฉันกาลังสับสน ลูกชายฉันมาเยี่ยมฉันวันนี้ เขาให้ฉันบอกรหัสตู้เซฟที่บ้าน”
พยาบาล :“คุณรู้สึกสับสนเพราะลูกชายคุณถามรหัสตู้เซฟที่บ้าน”
การยอมรับ(Acceptance)ความคิดความรู้สึก และพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนโดยไม่มีเงื่อนไข
ตระหนักรู้ในตนเอง(Self -Awareness)ประเมิน และปรับค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ ของตนอย่างต่อเนื่อง
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด
ผู้ป่วยสามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดทักษะทางสังคม
ผู้ป่วยรู้จักตนเอง เข้าใจพฤติกรรมของตนเอง มองเห็นปัญหา ยอมรับ และแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างมีเหตุผลให้บรรลุเป้าหมายชีวิต
เรียนรู้และพัฒนาการปฏิบัติตนที่เหมาะสมมีความมุ่งมั่นให้ผู้ป่วยได้เติบโต ช่วยให้ผู้ป่วยได้ปรับปรุงตนเองในทางที่เป็นประโยชน์ และดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพ
เป้าหมายจึงเพื่อให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ รู้จักตนเองอย่างถูกต้อง ยอมรับตนเอง และเพิ่มความเคารพนับถือตนเอง สามารถสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ รู้จักพึ่งตนเอง พึ่งพาผู้อื่นบ้างอย่างเหมาะสม
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก อธิบายความคิด ความเข้าใจ :
Sharing observationเป็นการบอกสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นจาก การพูดหรือการแสดงออกของผู้ป่วย เพื่อกระตุ้นให้เขาเล่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับเขา ระบายความคิดความรู้สึกที่เขามีอยู่ขณะนั้น “คุณมีสีหน้าเศร้าขณะที่พูดถึงคุณพ่อของคุณ”
2.Using broad opening statement เป็นการใช้คาพูดในประโยคปลายเปิด เพื่อให้ผู้ป่วยตอบกว้าง ๆ“คุณพอจะเล่าให้ดิฉันฟังได้ไหมว่าเมื่อวานนี้ก่อนมาโรงพยาบาลมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง”
3.Giving general lead เป็นการกล่าวนาเพื่อให้ผู้ป่วยพูดต่อ “แล้วคุณคิดจะทาอะไรต่อไป”
เทคนิคที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
พยาบาลควรให้ความสาคัญกับพฤติกรรม การพูด การแสดงออกของผู้ป่วยให้ถูกต้องโดยทาความเข้าใจ หรือแปลความหมายของพฤติกรรมดังกล่าวให้ถูกต้อง ชัดเจน ตรงตามที่ผู้ป่วยต้องการสื่อสารให้ทราบ หรือเก็บความรู้สึกไว้ไม่พูดออกมาตรง ๆ หรือสนทนาในประเด็นที่ยังไม่กระจ่างชัดให้กระจ่างมากขึ้น
Paraphraseการทวนซ้า ช่วยให้ผู้ป่วย รู้ว่าพยาบาลได้ยินในสิ่งที่เขาพูด
Restating การทวนความ ช่วยให้ผู้ป่วยทบทวนใหม่ให้เข้าใจซึ่งกันและกัน รู้ว่าพยาบาลเข้าใจ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องในการฟั
Focusingการมุ่งความสนใจให้อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ผู้ป่วยพูดบางประเด็น ให้กระจ่าง มีโอกาสไตร่ตรองเรื่องราว และทาความเข้าใจให้ถูกต้องต่อไป
Exploringการสารวจข้อมูลเพิ่มเติมเป็นการสอบถามให้ลึกซึ้งและกว้างขวางขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยคิดไตร่ตรองเรื่องราวใหม่
ปัญหา
ปัญหาและการแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสื่อสาร : คาที่ขัดขวาง
1.การใช้คาปลอบใจที่ไม่เหมาะสม “อย่ากังวลใจไปเลย”
2.การให้คาแนะนา “คุณควรจะทา…” “ทาไมคุณไม่ทาอย่างนี้ล่ะ…….”
3.การขอคาอธิบาย “ทาไมคุณถึงได้ฉุนเฉียว”หรือการไม่อธิบายเหตุผล
4.การเห็นด้วย/ไม่เห็นด้วยกับผู้ใช้บริการ “ฉันเห็นด้วยกับคุณ” “คุณไม่ควรทาอย่างนั้น” “คุณควรเลิกกังวล”
5.การกล่าวตาหนิ หรือการแสดงการไม่เห็นด้วยกับผู้ใช้บริการ
6.การพูดดูหมิ่นความรู้สึกของผู้ใช้บริการ“ฉันรู้ว่าคุณรู้สึกอย่างไร...”
7.การกล่าวแย้งข้อคิดเห็นของผู้ใช้บริการ “คุณเข้าใจผิดค่ะ”
8.การกล่าวคาแก้ตัว“โรงพยาบาลของเราเป็นโรงพยาบาลที่ดีมากนะคะ”
สรุป
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือ ผู้ใช้บริการ สามารถดาเนินชีวิตอย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีสุขภาพจิตดี เกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง นาไปปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้มีความสุขทางใจมากขึ้น และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยพยาบาลจะต้องรู้จักตนเอง ตระหนักรู้ ในตนเองและเข้าใจตนเองเป็นอย่างดีใช้ตนเองเพื่อการบาบัด และใช้ ทักษะการสื่อสารเพื่อการบาบัดอย่างเหมาะสม
นางสาวอาภาภรณ์ สังข์ภักดี เลขที่ 74