Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คู่มือผู้ประกันตน - Coggle Diagram
คู่มือผู้ประกันตน
กองทุนประกันสังคม
ความหมาย
กองทุนที่ให้หลักประกันแก่ผู้ประกันตนให้ได้รับประโยชน์ ทดแทน เมื่อต้องประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย ซึ่งไม่เนื่องจากการทำงาน รวมทั้ง กรณีคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน
-
ข้ึนทะเบียนได้ท่ีไหน?
-นายจ้างที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครให้ยื่นแบบ ได้ที่สำนักงานประกนั สงั คมกรุงเทพมหานครพื้นที่ที่สถานประกอบการ ตั้งอยู่
- นายจ้าง ที่มีสำนักงานใหญ่ในส่วนภูมิภาคให้ยื่แบบข้ึนทะเบียน ได้ท่ีสำนักงานประกันสังคมจังหวัดที่สถานประกอบการต้ังอยู่
-
-
-
เงินสมทบ คือ...อะไร
คือ เงินที่นายจ้าง ลูกจ้าง จะต้องนำส่งเข้ากองทุนประกันสังคม ทุกเดือน โดยคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับ ซึ่งกำหนดจากฐาน ค่าจ้างที่ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท โดยรัฐบาลจะออกเงินสมทบเข้ากองทุนด้วยส่วนหนึ่ง
-
-
-
กองทุนเงินทดแทน
ความหมาย
กองทุนที่จ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หรือสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของร่างกาย ตายหรือสูญหาย อันเนื่องมาจากการทำงานให้แก่นายจ้าง โดยไม่คำนึงถึงวัน เวลา และสถานที่ แต่จะดูสาเหตุท่ีทำให้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
วัตถุประสงค์
• เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างท่ีประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยอันเนื่องจากการทำงานในด้านต่างๆ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนรายเดือน ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน และค่าทพศพ
• เพื่อให้การบำบัดรักษาและส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการฝึกอาชีพให้สามารถเลี้ยงชีพ ได้ด้วยตนเองไม่เป็นภาระแก่สังคม
• ให้การสนับสนุนส่งเสริมและป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน
คือ เงินท่ีนายจ้างจ่ายเข้ากองทุนเงินทดแทนแต่เพียงฝ่ายเดียว จะเรียกเก็บจากนายจ้างเป็นรายปีโดยประเมนิ จากค่าจ้างที่นายจ้างจ่าย ให้ลูกจ้างทั้งปีรวมกัน (คนละไม่เกิน 240,000 บาทต่อปี) โดยมีการ กำหนดอัตราเงินสมทบ กำหนดไว้ 2 ประเภท ดังน
- อัตราเงินสมทบตามรหัสประเภทกิจการ
- อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์
-
หลักการประกันสังคม
ความหมาย
การสร้างหลักประกันในการดำรงชีวิต ในกลุ่มของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการเพื่อรับผิดชอบในการเฉลี่ย ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่รัฐบาล ของประเทศต่างๆ ในโลกส่วนใหญ่นำระบบประกันสังคมไปใช้ ในการให้หลักประกันชีวิตแก่ประชาชนของตนตั้งแต่เกิดจนตาย
-
ผู้ประกันตน (มาตรา 33).
ความหมาย
ลูกจ้างผู้ซึ่งทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการ ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ดังนี้
-
1.2 กรณกีารประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่สามารถเข้ารับบริการ ณ สถานพยาบาลที่กำหนดสิทธิได้ เมื่อเข้ารับการบริการ ทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลอื่น สำนักงานประกันสังคม จ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้แก่ผู้ประกันตนหรือสถานพยาบาล ดังนี้
โรงพยาบาลรัฐบาล
-ผู้ป่วยนอก สำนักงานประกันสังคมจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ เท่าท่ีจ่ายจริงตามความจำเป็น
-ผู้ป่วยใน สำนักงานประกันสังคมจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ ตามความจำเป็น ไม่เกิน 72 ชั่วโมงแรก ไม่รวมระยะเวลาในวันหยุด ราชการ ยกเว้น ค่าห้อง และค่า อาหารเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 700 บาท/วัน
โรงพยาบาลเอกชน
ผู้ป่วยนอก: ให้ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ตามจานวนเท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกิน 1,000 บาท.
ผู้ป่วยใน: ให้ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามความจำเป็น ภายในระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงแรก โดยไม่รวม วันหยุดราชการ ตามหลักเกณฑ์และจำนวนเงินทดแทนค่าบริการ ทางการแพทย์กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน
-
2.2 ผู้ประกันตนชาย ท่ีมีภริยาจดทะเบียนสมรสหรือหญิง ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาแต่มิได้จดทะเบียนสมรส สามารถเบกิ ค่าคลอดบุตรได้ โดยนำสำเนาสูติบัตรของบุตร สำเนาทะเบียนสมรส (ถ้ามี) หรือ หนังสือรับรองรกรณีไม่มีทะเบียนสมรส (เฉพาะกรณีผู้ประกันตนไม่ได้จดทะเบียนน สมรสกับภริยา) มาเบิกเงินท่ีสำนักงานประกันสังคม จะได้รับเฉพาะเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย จำนวน 13,000 บาท
2.1 ผู้ประกันตนหญิง สามารถคลอดบุตรท่ีสถานพยาบาลใดก็ได้ แล้วนำสำเนาสูติบัตรของบุตร บัตรประจำตัวประชาชนมายื่นเรื่อง ท่ีสำนักงานประกันสังคมจะได้รับเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย จำนวน 13,000 บาท และยังจะได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการ คลอดบุตรอีก ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉล่ียเป็นเวลา 90 วัน หมายเหตุ (เงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร เบิกได้ ไม่เกิน 2 คร้ัง)
2.3 ค่าตรวจและรับฝากครรภ
-อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าท่ีจ่ายจริง ไมเ่กนิ 500บาท
-อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าท่ีจ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
-อายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท
- กรณีทุพพลภาพ
ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่ทุพพลภาพ
-
3.2 กรณีทุพพลภาพระดับความสูญเสียรุนแรง
ให้มีสิทธิได้รับ เงินทดแทนการขาดรายได้ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย ตลอดชีวิต
ค่าบริการทางการแพทย์
สถานพยาบาลของรัฐ
-กรณีผู้ป่วยนอกได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง
ตามความจำเป็น
-กรณีผู้ป่วยใน สามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เนื่องจากสถานพยาบาลจะเป็น ผู้เบิกจากสำ นักงาน ประกันสังคมโดยตรง
สถานพยาบาลเอกชน
-กรณีผู้ป่วยนอกได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท
-กรณีผู้ป่วยใน ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินเดือนละ 4,000 บาท
•ค่ารถพยาบาลหรือค่าพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพ กรณี เข้ารับบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายไม่เกินเดือนละ 500 บาท
•ผู้ทุพพลภาพมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายในกระบวนการฟื้นฟู สมรรถภาพของร่างกาย จิตใจและอาชีพ ตามประกาศสำนักงาน ประกันสังคมมเรื่องกำหนดหลักเกณฑ์อตัราค่าฟื้นฟูของผ้ทูพุพลภาพ
•เมื่อผประกันตนที่ทพุพลภาพเสียชีวิตไดรับสิทธิประโยชน์ เช่นเดียวกับกรณีตาย
- กรณีตาย
ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ก่อนเดือนถึงแก่ความตาย
หากผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบต้ังแต่ 120 เดือนข้ึนไป
จะได้รับเงินสงเคราะห์ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง 12 เดือน:
หากผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบต้ังแต่ 120 เดือนข้ึนไป
จะได้รับเงินสงเคราะห์ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง 12 เดือน'
ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 12 เดือน ภายใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับผลประโยชน์ทดแทน โดยจะได้รับเงิน,สงเคราะห์บุตร เหมาจ่ายเดือนละ 600 บาท/บุตร 1 คน/เดือน คราวละไม่เกิน 3 คน ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์
หมายเหตุ (ต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย)ม
เงินบำเหน็จชราภาพ:
• กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จ ชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน
• กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนข้ึนไป แต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ท่ีผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ พร้อมผลประโยชน์ตอบแทน ตามที่สำนักงานประกันสังคมประกาศกำหนด:
เงินบำนาญชราภาพ
ได้รับเงินบำนาญชราภาพร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลยี่ 60 เดือนสุดท้าย ที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบก่อนความเป็นผู้ประกันตนส้ินสุดลง กรณีจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน (15 ปีข้ึนไป) ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพข้ึนอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลา การจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน
-
-
-