Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท11, B6129422 นางสาวศศิธร ลาวกับเพ็ชร - Coggle Diagram
บท11
neonatal
resuscitation
Birth Asphyxia
ปัจจัยเสี่ยง : ท้องหลายครั้ง ไม่มาฝากครรภ์ตามกำหนด แม่อายุน้อยหรืออายุมาก เด็ก post-term ได้รับยาแก้ปวดใน4ชม.ก่อนคลอด เบาหวาน ความดันสูง ท่าทารกผิดปกติ น้ำคร่ำแตกเกิน 24 ชั่วโมง การคลอดยาวนาน รกลอกตัวก่อนกำหนด
-
Epinephrine ขนาดความเข้มข้น1: 10,000 (0.1 มก./มล.)ขนาดบรรจุ 3 มล.หรือ10 มล.
การคลอดที่มีความเสี่ยงสูงหรือทารกที่มีการกดการหายใจอย่างรุนแรงต้องเตรียมเครื่องมือสถานที่สิ่งแวดล้อม และบุคลากรให้พร้อมสำหรับการช่วยเหลือ
-
-
-
-
-
-
Maconium aspiration ไม่ใส่ tube ดูด cecretion จะทำให้ หลอดลมบวม ให้ suction ทั้งปากและจมูกให้มากที่สุด
-
-
Birth Injury
-
.กระดูกหัก
กะโหลกศีรษะร้าวหรือบุบ
-
การพยาบาล
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ไม่รบกวนโดยไม่จำเป็น สังเกตอาการผิดปกติ ไม่ใช้ยาทา ยานวด ประคบ เจาะเอาเลือดออก ดูแลตามแผนการรักษา
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการและอาการแสดง
-
-
-
ทารกจะร้องไห้เมื่อถูกต้องบริเวณที่หัก พบบวม ห้อเลือด (Ecchymosis) ตรงที่ได้รับบาดเจ็บเมื่อจับใต้แขน กล้ามเนื้อ sternomastoid จะตึงยกตัวทารกขึ้น
การพยาบาล
จัดให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง สังเกตอาการข้างเคียง V/S สร้างสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาทารก ให้การพยาบาลตามแผนการรักษา บันทึกอาการและการพยาบาลที่ให้
กระดูกต้นขาหัก
-
การพยาบาล
ให้การพยาบาลการใส่เฝือก การดึงขา ดูแลช่วยเหลือทารกประจำวัน ให้พักนิ่งๆ /S สร้างสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาทารก ให้การพยาบาลตามแผนการรักษา บันทึกอาการและการพยาบาลที่ให้
. Epiphyseal injury
. มักเกิดในเด็กครรภ์แรกท่าก้น คลอดทางช่องคลอด ส่วนใหญ่เกิดที่ epiphysis ของกระดูกต้นขา (femer) เป็นผลทำให้ epiphysis แยกออกโดยข้อไม่เคลื่อน
-
-