Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอด ที่ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการ, B6129422 นางสาวศศิธร…
การพยาบาลผู้คลอด
ที่ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการ
Induction of labour
การทำให้ภาวะการตั้งครรภ์สิ้นสุดเมื่ออายุครรภ์เกิน 28 สัปดาห์หรือทารกในครภ์มีน้ำหนักมากกว่า 1000 กรัม ด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
Augmentation of labor
การกระตุ้นให้เจ็บครรภ์คลอดเพิ่มขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้วตามธรรมชาติ
ส่งเสริมให้มดลูกมีการหดรัดตัวที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้การคลอดสิ้นสุดโดยเร็วหรือเพื่อให้การคลอดดำเนินไปตามเวลาที่สมควร
Indication
ด้านมารดา
ภาวะแทรกซ้อนด้านสูติกรรม : PIH, Placenta previa, PROM, Post term, Polyhydramnios ร่วมกับความพิการ , อายุครรภ์เกินกำหนด
ภาวะแทรกซ็อนด้านอายุรกรรม : DM, Chronic renal failure
ด้านทารก
DFIU, มีประวัติตายในครรภ์ไม่ทราบสาเหตุ ทารกพิการไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ , หมู่เลือดไม่เข้ากัน , IUGR
Contra indication
Maternal
CPD, Previous Abdomen, Placenta previa, Previous C/S ,Twins , ผ่านการคลอดมามากกว่า 4 ครั้ง , Infection vagina , Myoma ในเชิงกราน
์Neonatal
Fetal distress, Abnormal presentation
ข้อพิจารณา
อายุครรภ์ควรต้องมากกว่า 38 wks
สถานที่ เครื่องมือและทีมมีความพร้อมในการดูแลทารกแรกเกิด
ทารกในครรภ์ต้องแข็งแรง ควรติดตาม FHS ใกล้ชิด
ประเมินสภาพปากมดลูกด้วย Bishop scoring
วิธีการชักนำการคลอด
Medication induction
2.Prostaglandin : PGF2,
PGE2 ให้เพื่อให้ปากมดลูกนุ่ม
ภาวะแทรกซ้อน : Tetanic contraction, Rupture uterine , Amniotic embolism, BA, Abruption placenta, Trauma, Tear cervix, PPH
3.Misoprostol ระวังมดลูกบีบรัดตัวรุนแรง
1.Oxytocin : 8-10 d/m
ทุก 15 นาที
ภาวะแทรกซ้อน : Vomiting, Diarrhea, Rupture uterine , มดลูกหดรัดตัวรุนแรง การฉีกขาดของปากมดลูก
Surgical Induction
การเลาะถุงน้ำคร่ำ
ทำในอายุครรภ์ 40 สัปดาห์ขึ้นไป
ภาวะแทรกซ้อน : การติดเชื้อ มีเลือดออกหรือตกเลือด ถุงน้ำคร่ำแตก ผู้คลอดบางรายมีอาการเจ็บปวดมากขณะทำ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ : AROM
ทำในอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป และเจาะขณะมดลูกคลายตัว
ภาวะแทรกซ้อน : สายสะดือย้อยสำคัญ ติเชื้อในโพรงมดลูก น้ำคร่ำอุดตันในเส้นเลือด รกลอกตัวก่อนกำหนด vasa previa , Birth trauma
การพยาบาล : เตรียมจิตใจมารดา อธิบาย กั้นม่าน จัดท่า lithotomy ปิดตา ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ฟัง FHS ก่อนทำ สังเกตุลักษณะน้ำคร่ำ ฟัง FHS หลังเจาะทันที และทุก 15 นาที ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และใส่ผ้าอนามัย
Breech assisted delivery
ท่ากันชนิดสมบูรณ์ (complete breech) ทารกงอสะโพกและเข่าทั้งสองข้างอยู่ในท่าขัดสมาธิ มือกอดอกและก้นเป็นส่วนนำ
ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์ (incomplete breech) : Frank breech , Footling presentation, Knee presentation
สาเหตุ
Manternal
CPD, Placenta previa, multiparity, abnormal uterus, twins, polyhydramnios, เนื้องอกอุ้งเชิงกราน
Neonatal
Preterm, anencephaly, hydrocephalus
vaginal breech delivery
Spontaneous breech delivery การช่วยคลอดท่าก้นด้วยการให้มารดาเบ่งให้ทารกคลอดออกมาเอง
Partial breech delivery ช่วยดึงเมื่อสะดือทารกพ้นปากช่องคลอดแล้ว พร้อมแรงเบ่งของมารดา
Total breech extraction
ทำคลอดทั้งลำตัว เป็นหัตถการที่มีอันตรายได้มาก
contraindication
ปากมดลูกเปิดไม่หมด จะทำให้ปากมดลูกฉีกขาด และเกิด cervical clamp ปากมดลูกจะบีบเอาหัวทารกติดอยู่และทำให้เสียชีวิต
CPD ศีรษะทารกจะติดและคลอดไม่ได้
การพยาบาล
ระยะ1 ป้องกันการเกิดภาวะถุงน้ำคร่ำแตก และสายสะดือพลัดต่ำ
ระยะที่2 เตรียมมารดาทางด้านร่างกาย จิตใจและเครื่องมือให้พร้อม
ระยะที่3 เน้นการประเมินและป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
Forceps & Vacuum extraction
V/E
indicator
Prolonged 2 stage หรือมดลูกหดรัดตัวน้อย
มารดามีโรคที่ไม่ควรออกแรงเบ่งคลอดมาก : myasthenia, gravis, Heart, PIH
contraindication
ทารกท่าผิดปกติ เช่น ทาหน้า ท่าก้น ท่าขวาง เพราะไม่มีตำแหน่งวางถ้วย
CPD ชัดเจน
Premature labor
Prolapsed cord
Fetal distress โดยปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
condition fulfilled
ศรีษะต้องอยู่ในช่องเชิงกรานถึงระดับ 0 หรือต่ำกว่า
ปากมดลูกเปิดหมด หรือ 8 cm ขึ้นไปและบางเต็มที่
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกยังมีชีวิตอยู่
ข้อเสีย :Caput succedaneum, Cephalhematoma
F/E
simpson
ใช้ทำคลอดเมื่อศรีษะทารกอยู่ต่ำกว่า ischial spine และมี molding หรือ Caput succedaneum มาก
piper
ใช้ทำคลอดศรีษะในการคลอดท่าก้น
indicator
Prolonged 2 stage > 1 hr., Uterine atony
Fetal distress, หมุนศรีษะทารกที่อยู่ในท่าผิดปกติ, ทำคลอดศรีษะทารกท่าก้น
ระหว่างทำควรฟัง FHS ตลอดเวลา
complication
มารดา
Tear , Trauma bladder, มดลูกหย่อน , การแยกตัวของกระดูกหัวหน่าว, Uterine rupture, PPH, Infection
ทารก
อันตรายต่อกระโหลกศรีษะ สมอง เส้นประสาท กระบอกตาถูกบีบและหูหนวก
Caesarean section
การทำคลอดทารกผ่านทางรอยผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องและผนังมดลูก โดยทารกต้องมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 1000 กรัม ไม่รวมการผ่าในรายที่มดลูกแตกและตั้งครรภ์นอกมดลูก
indication
เป็นที่ยอมรับ
CPD การชักนำการคลอดไม่สำเร็จ การเจ็บครรภ์คลอดไม่ดำเนินไป ทารกอยู่ในภาวะคับขัน รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด สายสะดือย้อย เนื้องอกโพรงมดลูก เริม เคยC/Sคลอด ทารกแฝดตัวติดกัน
พิจารณาเป็นราย
ทารกอยู่ในท่าก้น เกล็ดเลือดต่ำจากภูมิคุ้มกัน Rh รุนแรง ทารกมีความพิการแต่กำเนิด มะเร็งปากมดลูก เคยผ่าตัดซ๋อมแซมช่องคลอด หูดหงอนไก่ขนาดใหญ่ที่ปากช่องคลอด
contraindication
ทารกตาย ยกเว้นมีข้อบ่งชี้ทางมารดาเช่นตกเลือดก่อนคลอด
ทารกพิการไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
complication
กดศูนย์หายใจ, infection, PPH ,โดยเฉพาะใน 24 ชั่วโมงแรก
Manual placenta removal
สาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
รกผิดปกติ เช่น ฝังตัวลึก
ขาดกลไกการขับดันรก
ไม่สามารถผ่านช่องคลอดได้
ผู้คลอดไม่เบ่งไล่ออกมา
ข้อบ่งชี้
ระยะที่ 3 ของการคลอดล่าช้า > 30 นาที
มีเลือดออก > 500 cc ในระยะรกคลอด
เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การดูแลมารดาหลังล้วงรก
V/S ทุก 15-30 นาที สังเกตปริมาณเลือด ใช้ยา oxytocin เข้า IV ตรวจดูความเข้มข้นของเลือด คาสายสวนปัสสาวะ ให้ยาปฏิชีวนะ
ข้อควรระวัง
ปราศจากเชื้อ ควรให้ยาสลบไม่ควรชักมืออกจนกว่าจะล้วงสำเร็จ ไม่ควรทำเกิน 2 ครั้ง หลังล้วงรกควรใช้นิ้วเข้าไปสำรวจในโพรงมดลูกให้ทั่วอีกครั้ง ไม่ควรเย็บแผลก่อนล้วงรก
ภาวะแทรกซ้อน
อักเสบติดเชื้อ ตกเลือด มดลูกทะลุ มดลูกปริ้น fornix ฉีกขาด ล้วงรกออกไม่หมด
Emergency delivery
1.ขอความช่วยเหลือ
2.ถามมารดาว่าเคยมีดรคประจำตัวและปัญหาการคลอดผิดปกติในครั้งก่อนๆ
3.ทำการประเมินคร่าวๆ
4.วัดสัญญาณชีพมารดาและชีพจรทารกหากมีเวลาทำ
5.จัดท่ามารดาให้อยู่ในท่า lithotomy หากไม่มีเตียงหรือขาหยั่งหมอน ผ้าพับ รองก้นมารดา
obstetrics
operative
การช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์หรือผู้คลอดด้วยเครื่องมือหรือว่าการพิเศษเพื่อให้มารดา และทารกปลอดภัยในระยะต่างๆของการคลอด รวมถึงการวินิจฉัยทางสูติศาสตร์
ประเภทของสูติศาสตร์หัตถการ
ระยะตั้งครรภ์
การตรวจวินิจฉัย (Amniocentasis)
การประคับประคอง เช่น การเย็บผูกปากมดลูก
version
ระยะคลอด
ชักนำการคลอด : เจาะถุงน้ำ การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ช่วยคลอด (V/E,F/E,C/S)
ช่วยการตั้งครรภ์สิ้นสุดก่อนครบกำหนด : เจาะใช้เครื่องดูดออก
ทำลายทารก : craniotomy, decapitation, cleidotomy
B6129422 นางสาวศศิธร ลาวกับเพ็ชร