Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้
การประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก
การเจริญเติบโต (Growth)วัดได้จาก
ส่วนสูง
น้ำหนัก
อายุ
การประเมินการเจริญเติบโต
การชั่งน้ำหนักเทียบกับอายุของเด็กจะได้น้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐานที่เด็กควรจะเป็น แบ่งเป็น 3 สูตร
2.อายุ 1-6 ปี = ((อายุเป็นปี*2))+8กิโลกรัม
3.อายุ 7-12 ปี ((อายุเป็นปี * 7 ) -5) /2 กิโลกรัม
1.3-12 เดือน น้ำหนัก(กก) = (อายุ(เดือน)+9)/ 2
สูตรวิธีการคำนวณค่าเปอร์เซ็นไทส์
(100*น้ำหนักจริงของผู้ป่วย) หารด้วย น้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐานที่คำนวณได้
การเปรียบเทียบน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน (เปอร์เซ็นไทส์) ที่คำนวณได้
120% ขึ้นไป เป็นเด็กอ้วน
75-90% เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 1
60-74 % เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 2
มากกว่า 90 -110 % เป็นเด็กน้ำหนักปกติ
ต่ำกว่า 60% เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 3
การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของทารกแรกเกิด
1 ปี 3เท่าของแรกเกิด
2ปี 4 เท่าของแรกเกิด
5-6 เดือน 2เท่าของแรกเกิด
7ปี 7 เท่าของแรกเกิด
แรกเกิด 3 กิโลกรัม
เส้นรอบศีรษะ
แรกเกิดจะมีความยาว 35 เซนติเมตร
6 เดือนแรก เพิ่มขึ้นเดือนละ 1.5 เซนติเมตร
6เดือนหลัง เพิ่มขึ้นเดือนละ 0.5 เซนติเมตร
การวัดส่วนสูง
6เดือนแรก เพิ่มขึ้นเดือนละ 2.5 เซนติเมตร
6เดือนหลัง เพิ่มขึ้นเดือนละ 1.5เซนติเมตร
แรกเกิด 50 เซนติเมตร
6 เดือน 65 เซนติเมตร
1 ปี 75 เซนติเมตร
2ปี 87 เซนติเมตร
4ปี 100 เซนติเมตร
วิธีคำนวณเปอร์เซนไทส์ส่วนสูง
(100*ส่วนสูงของผู้ป่วยที่วัดได้)หาร ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานที่คำนวณได้
เกณฑ์มาตรฐานอยู่ที่เปอร์เซนไทส์ที่ 95
การให้อาหารเสริมในเด็ก
คำแนะนำสำหรับการให้อาหารในเด็ก
ให้ทารกเริ่มเรียนรู้การกินอาหารเสริมจากช้อน
ให้อาหารเสริมก่อนให้นมเพราะทารกจะอิ่มและปฏิเสธอาหารเสริม
ให้อาหารเสริมครั้งละชนิด ถ้าทารกมีอาหารแพ้จะได้หยุดอาหารชนิดนั้นได้ทันที
ควรบดให้ละเอียด และบดหยาบๆเมื่อเด็กเริ่มมีฟัน
6เดือนแรกทารกต้องกินนมแม่อย่างเดียว
Marasmus กับ Kwashiorkor มีความแตกต่างกันอย่างไร
Marasmus
ขาดทั้งโปรตีนและพลังงาน
เด็กจะมีอาการ ผอมแห้ง กล้ามเนื้อลีบ ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
มีภาวะขาดพลังงาน พบในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
น้ำหนักต่ำกว่าปกติ
Kwashiorkor
เด็กกลุ่มนี้จะขาดโปรตีน
เด็กจะมีอาการบวมที่ขาและเท้าเป็นส่วนส่วนใหญ่ กดบุ๋ม
ผิวหนังมันวาว แห้งหยาบ สีกระดำกระด่าง
การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมผิดปกติตามวัย
พฤติกรรมอิจฉาน้อง
สาเหตุ
เคยเป็นหนึ่งมาตลอด พอมีน้องใหม่จึงรู้สึกว่ากำลังถูกแบ่งปันความรัก
การแก้ไขปัญหา
ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการช่วยดูแลน้องและทำทุกอย่างให้เด็กรู้ว่ายังเป็นที่รักของบิดามารดา
ดูดนิ้ว
สาเหตุ
เด็กรู้สึกเบื่อ จึงนำนิ้วมทอของตัวเองมาดูด
การแก้ไขปัญหา
ห้ามตำหนิเด็ก ให้ค่อยๆดึงนิ้วออกในขณะที่เด็กกำลังสนใจกืจกรรมอย่างอื่น
พัฒนาการของเด็ก
หมายถึง การเพิ่มขึ้นของความสามารถหรือการทำหน้าที่ของบุคคล
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
3-4 เดือน Chest up
5-6 เดือน พลิกคว่ำพลิกหงาย นั่งโดยใช้มือยันได้ชั่วครู่
2 เดือน ท่านอนคว่ำ ยกศีรษะได้ 45 องศา
10-12 เดือน เกาะเดิน ตั้งไข่ เดินได้ 2-3 ก้าว
1 เดือน เริ่มชันคอได้ ดึงแขนขากท่านอนเป็นนั่ง ศีรษะตกไปด้านหลัง
13-15 เดือน เดินได้ ขว้างปาสิ่งของ
16-18 เดือน สามารถปีนสิ่งของที่อยู่ในบ้านได้