Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios) - Coggle Diagram
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ปริมาณน้ำคร่ำมากกว่า 2000 ml. หรือ มีค่า AFI มากกว่าหรือเท่ากับ 25 cms.
แบ่งได้ 2 ประเภท 1.Chronic hydramnios 2.Acute hydramnios
สาเหตุ
ด้านมารดา
GDM เบาหวานขณะตั้งครรภ์
Monozygotic twin pregnancy ครรภ์แฝดที่มีการใช้อวัยวะร่วมกัน
ด้านทารก
มีความพิการระบบประสาทส่วนกลาง
อุดกั้นระบบทางเดินอาหาร
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดโตกว่าปกติ ไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ฟัง FHS ไม่ชัดเจน
แน่นอึดอัดหน้าท้อง หน้าท้องตึง ไม่สุขสบาย หายใจลำบาก
ปัสสาวะออกน้อย
ผลกระทบ
มารดา
Preterm Birth , PROM , Abruntion Placenta อาจมีสายสะดือพันคอได้
ระยะคลอดทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ทำให้การคลอดล่าสุด เสี่ยงต่อการคลอด C/S
ระยะหลังคลอด มดลูกยืดขยายมาก ทำให้เกิด Uterine atony และเกิด PPH ตามมา
ทารก
ทารกเสียชีวิต , เกิดภาวะ Fetal distress
เสี่ยงต่อสายสะดือย้อย
เสี่ยงต่อความพิการและทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
รับประทานอาหารโปรตีนสูง
เจาะน้ำคร่ำทางหน้าท้อง
นอนพักผ่อนให้ยานอนหลับลดความวิตกกังวล
ผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้องกรณีจำเป็น
รักษาโดยให้ยา indomethacin เพื่อให้การดูดซึมน้ำของปอดทารกเพิ่มขึ้น
ผลิตน้ำที่ปอดลดลง ผลิตปัสสาวะลดลง
ติดตาม ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะ hydramnios และสภาวะทารก
ในครรภ์ โดยการทำ U/S ทุก 3 – 4 สัปดาห์ เพื่อติดตาม AFI
การพยาบาล
อธิบายการดำเนินของโรค แผนการรักษา + เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
นอนพักผ่อน ท่านอนศีรษะสูง หรือนอนตะแคงซ้าย เพื่อลดอาการแน่นอึดอัดท้อง
3.สังเกต HF สังเกตทารกดิ้นและปริมาณน้ำคร่ำ เน้นการมาตรวจตามนัด
4.ในระยะคลอดติดตามความก้าวหน้าของการคลอด และประเมิน Uterine contraction และ FHS ทุก 30 นาที – 1 ชม.
5.กรณีมี meconium ในน้ำคร่ำ หรือ FHS ผิดปกติ ให้ดูแลโดยทำ intra utero resuscitation
6.ในระยะหลังคลอดประเมิน Uterine contraction, B/V, V/S เพื่อป้องกันการเกิด PPH
7.ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา