Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ 34 ปี G3P1011 last 2 ปี GA 36+1 wks., F/U…
หญิงตั้งครรภ์ 34 ปี G3P1011 last 2 ปี GA 36+1 wks.
การตรวจร่างกาย
conjunctiva not pale คลำไทรอยด์ไม่พบก้อน คอไม่บวม ไม่มีหัวนมบอด บุ๋ม หัวนม gr.III No pitting edema
ตรวจครรภ์ ยอดมดลูกอยู่ระดับ 3/4 มากสะดือ วัดได้ 34 cm. LOA,HF fetal movement positive FHS=126 bpm.
V/S BT=36.5 องศา BP=99/65 mmHg. PR=105 bpm.
นำ้หนัก 64.4 kg.
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวดหลัง (Backache)
ข้อมูลสนับสนุน
O: มารดา อายุ 34 ปี GA 36+1 wks.
S: มารดารบอกว่า"มีอาการปวดหลัง และปวดเมื่อย"
Analysis
เกิดจากการแอ่นหลัง การแอ่นหลังจะทำให้กล้ามเนื้อหลังตึงตัวและทำงานหนัก จึงเป็นสาเหตุทำให้กระดูกสันหลังแอ่น และเกิดอาการปวดหลังตามมา
ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่สูงขึ้นในระยะตั้งครรภ์
ทำให้เอ็นและข้อต่อกระดูกสันหลัง ข้อสะโพก และกระดูกเชิงกราน หย่อนตัว จึงทำให้กล้ามเนื้อหลังตึงตัวมากขึ้น เพื่อพยุงนำ่หนักของมดลูกไว
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสาเหตุร่วมของการปวดหลัง
หรือ ความผิดปกติของโครงสร้างร่างกาย
ลักษณะงาน
เคยได้รับอุบัติเหตุหรือ มีภาวะ Lordosis
ก่อนการตั้งครรภ์
อาชีพ
หากต้องยืนเป็นเวลานานควรหาเก้าอี้เตี้ยๆ
มารองรับเท้าข้างใดข้างหนึ่งเพื่อให้กล้ามเนื้อหย่อนตัว
ขณะลุกให้ตะแคงตัวแล้วใช้มือหรือ
ข้อศอกยันตัวก่อนลุกขึ้นหรือล้มตัวลงนอน
ขณะนั่งควรมีหมอนรองรับความโค้งบริเวณบั้นเอวควรนอน
ท่าตะแคงและใช้หมอนหนุนรองที่ ใต้ข้อเข่าท้อง และคอ
ไม่ยกของหนัก และหากจำเป็นต้องยกของ ให้ย่อเข่า
แล้วใช้กล้ามเนื้อต้นขาทั้งสองข้างดันตัวขึ้นยืน
ห้ามเกร็งกล้ามเนื้อท้องและหลัง
นอนบนฟูกหรือที่นอนที่ไม่อ่อนนุ่มจนเกินไป
เลือกรองเท้าส้นเตี้ยที่สวมสบาย ไม่เกินครึ่งนิ้ว
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการแสบ ร้อนกลางยอดอก (Heart burn)
ข้อมูลสนันสนุน
O: มารดา อายุ 34 ปี GA 36+1 wks.
S:มารดารบอกว่า"มีอาการแสบๆ ตรงบริณหน้าอก"
Analysis
ฮอร์โมนProgesteroneจะลดการทำงาน
ทำให้ให้กล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารไหลย้อยกลับขึ้นไปในหลอดอาหาร
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้รับประทานอาหารที่อ่อน ย่อยง่ายงดอาหารรสจัด รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่ทานบ่อยครั้ง
แนะนำให้จำกัดหรือหลีกเลี่ยงอาหารที่ ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร
3.เมื่อรู้สึกมีอาการร้อนในอกให้ดื่มนมอุ่นหรือน้ำอุ่นเพื่อเจือจางกรด ถ้าไม่ดีขึ้นให้ไปพบแพทย์
4.หลีกเลี่ยงการกินผลไม้ ดื่มน้ำผลไม้รสเปรี้ยว หรืออาหารที่เผ็ดร้อน
5.นั่งหรือเดินเล่นหลังกินอาหาร และไม่นอนราบ หรือนั่งหลังงอ หลังกินอาหารทันที
ประวัติทางสูติกรรม
G2P1011 last 2 ปี,GA 36+1 wks.
G1= abortion GA 8 wks.
G2= C/S 3200 gm. GA 38 wks.
LMP: 24 มิถุนายน 2563
EDC: 31 มีนาคม 2564 by LMP
ไม่ได้คุมกำเนิด ใช้วิธีหลั่งนอก
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hct=40.2 vot% Hb=13.8 g/dL MCV=84.9 FI MCH=28.6 pg
HBsAg=NegAnti HIV=Neg VDRL=Neg
Bl.gr B+
F/U = 9 มีนาคม 2564
นางสาวปิยะวดี ไชยนุ เลขที่ 29 รหัสนักศึกษา 61128301030