Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสิ่งแวดล้อม การควบคุมแมลงและสัตว์กัดแทะ - Coggle Diagram
การจัดการสิ่งแวดล้อม
การควบคุมแมลงและสัตว์กัดแทะ
แมลงวัน
ความสำคัญด้านสาธารณสุข
ทำให้ เกิดการแพร่ระบาดของโรค ท่ีสำคัญหลายชนิด ได้แก่ อหิวาตกโรค (Cholera) บิดมีเชื้อ (Shigellosis) บิดมีตัว (Amoebic dysentery) ไข้รากสาด (Salmonellosis) อาหารเป็นพิษ (Food poisoning) พยาธิเส้นด้าย (Enterobius)พยาธิตัวกลม(Ascaris) พยาธิปากขอ(Ancylostoma)ฯลฯ
ธรรมชาติสัตว์พาหะนำโรค
แมลงวันส่วนใหญ่ตายไปก่อนท่ีจะมีการวางไข่ขยายพันธุ์ ก็มีส่วนสำคัญในการดำเนินการควบคุม จากการศึกษาท่ีผ่านมาคาดว่าจะมีแมลงวัน จำนวนไม่มากนักที่สามารถวางไข่ได้เกินกว่า 2-3คร้ัง
การควบคุมและกำจัด
การสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ควรมีการบำบัดและกำจัดนำ้เสียใหถูกต้องเหมาะสม
การจัดให้มีการใชห้องน้ำและห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
หากบ้านเรือนมีสถานที่เลี้ยงสัตว์ ควรทำความสะอาดคอกสัตว์หรือสถานที่เลี้ยงสัตวให้สะอาด
กำจัดเศษอาหาร มูลฝอยที่ย่อยสลาย (garbage) ได้อย่างถูกต้อง
จัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชนท่ีถูกต้องเหมาะสม
การควบคุมด้วยกายภาพ (Physical Controls)
การใช้ไม้ดักตีแมลงวัน
การใช้กับดัก
กรงดักแมลงวัน(Flies Traps) ใช้ดักแมลงวัน
ขวดดักแมลงวันอย่างง่าย (Bottle Traps)
การใช้เชือกแขวนห้อย/ไม้ดักจับ
การใช้ฝาชีครอบอาหาร
ยุง
การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
เพื่อนำค่าดัชนีเหล่านี้มาสัมพันธ์กับจำนวนผู้ป่วย เพื่อพิจารณาค่าดัชนีเท่าใด ที่มีแนวโน้มว่าจะพบหรือไม่พบผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจสอบแหล่งที่อยู่ของลูกน้ำยุงลายและพิจารณาวาาความชุกชุมของลูกน้ำเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่หลังการการควบคุมแล้ว
หนู
ความสำคัญด้านสาธารณสุข
กลุ่มโรคท่ีเกิดจากตัวหนูโดยตรง ได้แก่ โรคไข้ฉี่หนู หรือ เล็บโตสไปโรซีส โรคไข้หนูกัด โรค
ไข้สมองอักเสบ(Angiostrongyliasis)โรคพยาธิตาบวม(Trichinosis)โรคไข้สมองอักเสบไวรัส(LCM)
2 กลุ่มโรคท่ีเกิดจากหมัดหนู ไดแ้ ก่ กาฬโรค ไขร้ากสาดใหญ่ (Murine Typhus fever Flea borne)
กลุ่มโรคท่ีเกิดจากไรหนู ได้แก่ ไข้ร้ากสาดใหญ่ (Scrub typhus Mite borne)
กลุ่มโรคท่ีเกิดจากเหาหนู ได้แก่ ไข้กลับซ้ำ(Relapsing Fever Louse borne) ไขร้ากสาดใหญ่
(Classical Typhus fever )
โรคที่เกิดจากเห็บหนู ได้แก่ ไข้กลับซ้ำ ( Relapsing Fever , Tick borne)
ธรรมชาติสัตว์พาหะนำโรค
หนูแพร่พันธุ์ได้รวดเร็วมาก ออกลูกปีละ4-7คร้ังจำนวนคร้ังละ8-12ตัวมีชีวิต อยู่ได้นานถึง2ปี
การควบคุมและกำจัด
การป้องกันหรือขจัดที่พักอาศัยของหนู
วัสดุที่ใช้ควรป้องกันการกัดแทะของหนูได้ เช่น คอนกรีต อิฐ หิน เหล็ก หรือกระเบื้องหนาๆ เป็นต้น
ปิดหรืออุดทางเขา้ออกเมื่อสารวจพบว่ามีช่องทางเดินของหนู
การปรับปรุงอาคารสำนักงานและที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ โดยใช้หลัก 5ส. เพื่อการพัฒนาสุขลักษณะของสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกัษณะ สร้างนิสัย
2.การกำจัดหนูโดยตรงมี3วิธีได้แก่ วิธีกล การใช้สารเคมีและการใชสิ่งมีชีวิตเข้าควบคุม
วิธีกล โดยการใช้กรงดักนิยมใช้กับดัก แบบกรง และการวางกาว การวางกบับดักหนูควรวางไว้ ที่หนูมาหาอาหารทางเดินของหนู โดยวางชิดกับ ฝาผนังหรือวางตามมุม กองอาหาร สาหรับอาหารที่ใช้เป็น
เหยื่อล่อควรเปลี่ยนอยู่เรื่อยๆ
สารเคมีเช่นยาเบื่อหนูชนิดออกฤทธ์ิเฉียบพลัน จะทำให้หนูตายใน1-2วัน เช่นพวกซิงค์ ฟอสไฟด์, เร็คสควิล, สารหนูแอนทู
การใช้สิ่งมีชีวิตเข้าควบคุมการใช้สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติท่ีเป็นศัตรูกับหนูเช่น สุนัข แมว งู (งูเห่างูสิงงูเหลือม)นก พังพอน เป็นต้น
แมลงสาบ
ความสำคัญด้านสาธารสุข
แมลงสาบจะเป็นพาหะนำโรคต่างๆ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา อุจจาระร่วง หรือ ไทฟอยด์ เป็นต้น
ธรรมชาติสัตว์พาหะนำโรค
วงจรชีวิต(lifecycle)ประกอบด้วย3ระยะ คือ ไข่ (egg) , ตัวอ่อนหรือตัว กลางวัย (nymph) และตัวเต็มวัย (adult) ซึ่งตัวอ่อนน้ีจะมีลักษณะคล้าย ตัวเต็มวัยโดยตัวอ่อนระยะแรกท่ีออกจากไข่จะยัง ไม่มีปีกเมื่อผ่านการลอกคราบ2-3คร้ังจะเริ่มมีปีกและอวัยวะ สืบพันธุ์ค่อยๆเจริญเติบโตข้ึนจนเป็นตัวเต็มวัยที่มีปีกเจริญเต็มที่และอวัยวะสืบพันธุ์สมบูรณ์ในธรรมชาติ แมลงสาบอายุขัยเฉลี่ยประมาณ170-304วัน
การควบคุมและกำจัด
การสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
การรักษาความสะอาดภายใน บริเวณบ้าน เช่นห้องนอนห้องครัวห้องน้ำและห้องเก็บขอ
การป้องกันไม่ให้เข้าสู่ตัวอาคารโดยการปิดหรืออุดช่องโหวต่างๆ
ดูแลรักษาบ้านเรือนให้สะอาดอยู่เสมอโดย ไม่ให้เป็นแหล่งเก็บกักอาหารโดยกวาดถูบ้านเรือน
2.การควบคุมด้านกายภาพ(PhysicalControls)
การทำลายไข่แมลงสาบเป็นการตัดวงจรการขยายพันธุ์หากพบไข่แมลงสาบให้รีบเผาทันที่ลด การขยายพันธุ์ถึง30ตัว
ดูแลทำความสะอาด เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์แมลงสาบ
3.การควบคุมด้านสารเคมี
สารเคมีที่นิยมนำมาใช้กำจัดแมลงสาบได้แก่ สารในกลุ่มCarbamate,organophosphorouscompound,syntheticpyrethroid,insectgrowth regulator(IGR)และelectrontransportinhibtor(ET)
ใส่น้ำยา Lysol ลงในน้ำของโถชักโครก เพื่อป้องกันแมลงสาบเข้ามา
ทำลายท่ีซ่อนของมันเช่นเก็บกวาดบริเวณรอบบ้านอย่าให้มีกองไม้เศษวัสดุก่อสร้างของเหลือ ใช้โดยโรยผง boric acid ไว้ตามซอกมุมร่องรูต่าง ๆ
นาย สุทธิพงษ์ เสนามนตรี รหัสนักศึกษา 601318