Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรงและไม่ซับซ้อน - Coggle Diagram
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรงและไม่ซับซ้อน
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ประเภทที่ 1 กลุ่มโรคทั่วไปที่พบได้แม้
จะยังไม่เข้าสู่วัย
ผู้สูงอายุ เช่น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ โรคไตวายเรื้อรัง
ประเภทที่ 2 กลุ่มโรคที่เกิดเฉพาะในวัยผู้สูงอายุ เช่น
อาการสับสน สูญเสียความทรงจำ กระดูก
พรุน การทรงตัวและหกล้ม
● อาการนอนไม่หลับ ● ปัญหาการมองเห็น ● ปัญหาการกลั้นการขับถ่ายไม่อยู่ ● อาการมึนงง เวียนศีรษะ
● ปัญหาการได้ยิน ● ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และความผิดปกติในการรับประทานอาหาร
โรคสมองเสื่อม (Dementia)
มีสาเหตุมาจากความผิดปกติที่มาจากการทำงานของสมองด้านการคิดและสติปัญญา
อาการ สูญเสียความทรงจำทำกิจวัตรประจำวันที่คุ้นเคยด้วยความยาก มีปัญหาในการใช้ภาษา สับสนวันเวลาสถานที่ การ
ตัดสินใจแย่ลง มีปัญหาเกี่ยวกับการคิดรวบยอด เก็บสิ่งของผิดที่ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย บุคลิกภาพเดิมเปลี่ยนไป ชอบเก็บตัว
การรักษา
ประเภทที่ 1 การใช้ยารักษา (Pharmacological Treatment)
ประเภทที่ 2 การรักษาโดยไม่ใช้ยา(Non-Pharmacological Treatment) การปรับเปลี่ยนความคิด การท าการกระตุ้นสมอง การฝึกความจำ การระลึกถึงความหลัง
การป้องกันภาวะสมองเสื่อม
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
รับประทานอาหารบำรุงสมอง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่จำเป็นหรือใช้ยาต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้สมองถูกกระทบกระเทือน
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60
ปีบรบูรณ์ขึ้นไป
ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” ในปีพ.ศ. 2548 เนื่องจาก มีสัดส่วนของผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อย
ละ 10 ของประชากรทั้งหมด
สถานการณ์การพลัดตก
หกล้ม
สาเหตุ ร่างกายและความสามารถเสื่อมลง พื้นและบันไดลื่น เปียก พื้นต่างระดับ แสงสว่างไม่เพียงพอ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
ห้องน้ำ**ไม่ควรห่างจากห้องนอนเกิน
9 ฟุต มีราวยึดเกาะ พื้นหยาบ
ห้องนอน** แสงสว่างเพียงพอ เก้าอี้ผู้สูงอายุควรมีพนักพิง มีที่วาง
แขน ตู้เสื้อผ้าไม่ควรสูงจนต้องปีน ในห้องนอนไม่ควรมีโทรทัศน์
บันได** ราวบันไดควรมีรูปร่างเป็นทรงกลม
ทั้ง 2 ข้าง ความสูงของแต่ละขั้นไม่ควรเกิน 6
นิ้ว แสงสว่างบริเวณบันไดควรเพียงพอ
การออกกำลังกาย
ป้องกันการหกล้ม
เดิน ถีบจักรยาน ออกกำลังกายในน้ำ ว่ายน้ำ รำมวยจีน
ไม่ลืม
ความจำแบ่งเป็น 2 ส่วน ความจำชั่วคราวและความจำถาวร
สารอาหารบำรุงสมอง วิตามินบี ธาตุเหล็ก โคลีน สารต้านอนุมูลอิสระ น้ำมันปลา ลดสูบบุหรี่
การออกกำลังกายเพิ่มความจำ
การออกกำลังกายแบบแอโรบิคต่อเนื่องอย่างน้อย 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน
ฝึกเดินถอยหลัง โยคะ รำมวยจีน เดินจงกรม
ฝึกสมาธิควบคุมอารมณ์และจิตใจจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของสมองและระบบประสาท
เกมส์ฝึกสมอง
ท่าโป้งก้อย
ท่าจีบแอล
ท่าจับจมูกจับหุ
ไม่ซึมเศร้า
ภาวะซึมเศร้า Depression หมายถึง ภาวะจิตใจ
ที่หม่นหมอง หดหูร่วมกับ
ความรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
5 วิธีสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคม
● หางานอดิเรกที่เหมาะสมกับ
ผู้สูงอายุให้ทำอย่างต่อเนื่อง
● ส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุใน
ชุมชน
● สร้างความรู้สึกมีคุณค่าให้แก่
ผู้สูงอายุ
หมั่นพาผู้สูงอายุเข้าวัด ทำบุญ
● สร้างภูมิทัศน์ในบ้าน