Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สาเหตุของการเกิดภูมิปัญญาไทย และ ลักษณะของภูมิปัญญาไทย - Coggle Diagram
สาเหตุของการเกิดภูมิปัญญาไทย และ ลักษณะของภูมิปัญญาไทย
สาเหตุของการเกิดภูมิปัญญาไทย
ความเชื่อและระบบความสัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ
มนุษย์จำเป็นต้องสร้างระบบความสัมพันธ์กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้และนำไปสู่คติความเชื่อที่พัฒนาขึ้นลัทธิศาสนา
เป็นเรื่องของระบบความคิดในมุมมองของปรัชญาที่ซับซ้อน ทั้งความเชื่อและลัทธิศาสนา
มนุษย์ยกให้ปรากฎการณ์เหนือธรรมชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้สามารถดลบันดาลทั้งด้านดีด้านร้ายแก่มนุษย์
เป็นที่มาของพัฒนาการทางศิลปะ สถาปัตรกรรม วรรณกรรม และทางกฏหมายของมวลมนุษยชาติ
การตอบสนองต่ออารมณ์สุนทรี
ภาพเขียนนอาจมีที่มาจากการใช้เพื่อระกอบพิธีกรรมหรือการเล่าเรื่องประสบการณ์ที่บางคนในกลุ่มประสบมา
ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับศาสนา
เมื่อมนุษย์มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจึงเริ่มมีการแสดงออกทางด้านศิลปะดังปรากฎศิลปะของถ้ำของสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ความจำเป็นขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต
มนุษย์มีศักยภาพที่จะนำสภาพธรรมชาติมาสร้างประโยชน์ได้มากขึ้นจนถึงขั้นเกิดเป็นวิวัฒนาการของมนุษยชาติ
ความจำเป็นของการดำรงชีวิตคือ ปัจจัย 4
ที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่ม
อาหาร
ยารักษาโรค
การดำรงอยู่รอดของมนุษย์คือ ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมหือสามารถหาสภาวะแวดล้อมที่เอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มมนุษย์
ความเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพ
เมื่อต้องคิดค้นสร้างอาวุธ เครื่องมือเครื่องใช้ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นทุกขณะตามความจำเป็นของสถานการณ์
ระยะต่อมามีการติดต่อแลกเปลี่ยนกับชุมชนอื่น พัฒนาเป็นระบบการค้า เกิดระบบเศรษฐศาสตร์ต่างๆ
อาชีพเบื้องต้นของมนุษย์คือการแสวงหาอาหารและการเอาชีวิต
การประยุกต์รับอิทธิพลจากภายนอก
มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากกลุ่มหนึ่งไปสู่อีกกลุ่มหนึ่งตลอดเวลา
มีสาเหตุจากการติดต่อค้าขาย การอพยพโยกย้าย
ลักษณะของภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาที่เป็นรูปธรรม
เครื่องมือเครื่องใช้
แสดงถึงขีดความรู้ความสามารถของผู้คนในแต่ละยุคสมัย
เป็นการนำวัสดุนั้นๆมาใช้ประโยชน์หรือมีการติดต่อการแลกเปลี่ยนจากแหล่งอื่น
พาหนะ
คนไทยรู้จักหาเครื่องผ่อนแรงมาใช้แทนพาหนะในการเดินทางและบรรทุกสิ่งของ เช่น วัว ม้า ช้าง ควาย เพื่อความคล่องตัว หรทอรถเทียม เกวียน ทางน้ำใช้แพ
มีการตกแต่งลวดลายอย่างงดงามโดยเฉพาะราชพาหนะ เช่น เรือพระที่นั่งที่มีโขนหัวหรือเป็นรูปทรงต่างๆ
อาหาร
ที่ชัดเจนคือ การผลิตข้าว และนำข้าวบริโภคทั้งในลักษณะของหลักอาหารหลักและการแปรรูปเป็นขนม
กรรมวิธีการประกอบอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
งานฝีมือ
แบ่งเป็นหลายประ เช่น การวาดภาพ การแกะสลักทั้งไม้ หิน ไปจนถึงผักผลไม้ งานปั้น งานหล่อ การทอผ้า ปักผ้า งานร้อยกรองดอกไม้
มรดกงานฝีมืออีกกลุ่มคือ งานประณีตศิลป์ เช่นเครื่องทอง เครื่องถม คร่ำ ลายรดน้ำ ลายประดับมุก
อาคาร
จัดแหล่งที่อยู่ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
รูปเคารพ
ในระยะแรกจะเป็นรูปเรารพของความอุดมสมบูรณ์
เมื่อศาสนาพราหมณ์ พุทธ เข้ามามีอิทธิพลในสังคมไทย จึงมีรูปเคารพที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา
ส่วนรูปเรารพแทนองค์กษัตริย์จะนิยมสร้างเป็นพุทธรูปฉลองพระองค์จนถึงรัชกาลที่ 5 จึงสร้างเป็นภาพเหมือนจริง
คือสัญลักษณ์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สร้างขึั้นเพื่อการเคารพบูชาและการประกอบพิธีกรรม
คือ การนำคติความเชื่อซึ่งเป็นนามธรรม มารังสรรค์สิ่งที่มีรูปร่างเพื่อเป็นแกนหลักในการปฏิบัติบูชา
การประกอบพิธีกรรม
การประกอบอาชีพ
เป็นการแสดงความเคารพบูชาสิ่งักดิ์ที่จะเอื้อประโยชน์ต่ออาชีพของตน
เช่นบูชาแม่ย่านางเรือ พิะีไหว้ครู ครอบครู
ศรัทธาในศาสนา
นำพิธีทางศาสนามาใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คน
มีการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่ออื่นๆ เช่น ตรุษจีน บุญบั้งไฟ
การพยายามสร้างความเข้าใจในหลักศาสนาและแสดงออกด้านพฤติกรรมรวมทั้งการระกอบพิธีกรรมในวาระสำคัญทางศาสนา
การรักษาโรค
การผลิตตัวยาจะมีการประกอบพิธีกรรมต่อสื่งศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องในทุกขั้นตอน
ผู้เป็นหมอก็ต้องเป็นบุคคลที่ประพฤติดี เพื่อประสิทธิผลในการรักษา
รู้จักการนำส่วนต่างจากไพรที่มีคุณค่าในด้านต่างๆมาประกอบเป็นตัวยารักษาโรค ทั้งยากิน ยาทา ยาประคบ
การสร้างความสัมพันธ์ในสังคม
สังคมไทยมีรากฐานมาจากสังคมเกษตรกรที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผช่วยเหลือแบ่งปันซึ่งกันและกัน
แสดงความร่วมมือร่วมใจทำงานเพื่อสังคมและขยายต่อมาถึงการยอมรับจัดระเบียบโครงสร้างสังคมไทยที่แสดงความผูกพันกับสถาบันชาติ ศาสนา กษัตริย์
เป็นการแสดงออกซึ่งความศรัทธาในคติความเชื่อ และลัทธิศาสนาต่อวัตถุสถาน เป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อ
ภูมิปัญญาที่เป็นนามธรรม
โลกทัศน์ด้านจักรวาล
เป็นการพัฒนาความเชื่อในสังคมเกษตรผสมผสานกับอิทธิพลแนวคิดจากพราหมณ์ ฮินดู
พระพรหมเป็นผู้สร้างสรรค์ทุกสรรพสิ่งในจักรวาลและโลก
โลกทัศน์ด้านพระพุทธศาสนา
เรื่องขอบบุญ กรรม การเวียนว่ายตายเกิด วัฏจักรนี้ยุติด้วนการนิพพาน(บรรลุอริยสัจ 4)เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ยาก
ชาวพุทธถือปฏิบัติ คือ การเร่งทำบุญเพื่อให้เกิดใหม่ที่กีโดยเฉพาะการเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตไตรย
ความเชื่อสำคัญ คือ พระพุทธศาสนาจะมีอายุเพียง 5000 ปี
คติความเชื่อ
เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งที่เหนือธรรมชาติแบบสังคมเกษตร นอกจากนี้ยังนับถือวิญญาณบรรพบุรุษ ผีบ้าน ผีเมือง
ความเชื่อของคนไทยส่วนใหญ่ยังคงยึดถือมาถึงปัจจุบัน คือ ไสยศาสตร์โชคลางฤกษ์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ข้อห้ามและข้อปฏิบัติ
ทุกภาคจะมีการบัญญัติถึงข้อห้ามและข้อพึงกระทำในทุกช่วงชีวิต
ในสังคมล้วนมีข้อบัญญัติที่ควรทำและห้ามทำทั้งในระดับบุคคลและส่วนรวม
หากไม่ปฏิบัติจะเกิดผลร้ายแรง
คือ ความรอบรู้ที่เป็นเรื่องของความเชื่อ ค่านิบม ที่ถ่ายทอดคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งทอาจมีมูลเหตุมาจากประสบการณ์หรือป้องกันมิให้เกิดเหตุร้ายแรงภัยพิบัติต่างๆ