Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่ พบบ่อย - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่ พบบ่อย
กระดูกมนุษย์
กระดูกอ่อน
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งประกอบด้วย
เซลล์กระดูกอ่อน สารระหว่างเซลล์และเส้นใยชนิดต่างๆ
กระดูก
ข้อต่อที่
เคลื่อนไหวไม่ได้
ข้อต่อที่
เคลื่อนไหวได้
ข้อต่อที่ต้นคอกับฐานของกะโหลกศีรษะ
ข้อต่อที่ข้อมือข้อเท้า
ข้อต่อของหัวไหล่และสะโพก
ข้อต่อจะมีการสร้างของเหลว
เป็นเมื่อคล้ายไข่ดาวหล่อลื่นอยู่
ข้อต่อกระดูกนิ้วมือนิ้วเท้า
การดูแลตนเองเพื่อ
ป้องกันการเกิดโรคระบบ
โครงร่างและกล้ามเนื้อ
1.ไม่ฝืนทำงานต่อเนื่องกันนานเกินกำลัง ควรมีการพักผ่อนระหว่างวันให้ร่างกายซ่อมแซมกันเอง
2.บริหารร่าง
กายทุกวัน
2.2 การป้องกันและรักษา
อาการปวดคอและบ่าไหล
ท่าที่ 1 ท่าต้านการเหยียดคอ
ท่าที่ 2 ท่ายืดกล้ามเนื้อ
2.3 การป้องกันและ
รักษาอาการปวดขา
ท่าที่ 1 ท่านอนไขว่ห้าง
ท่าที่ 2 ท่านั่งเหยียดขา
2.1การป้องกันและ
รักษาอาการปวดหลัง
ท่าที่ 1 นอนคว่ำเเอ่นหลัง
ท่าที่ 2 ท่ายืนแอนหลัง
2.4 การป้องกันและการ
รักษาอาการปวดข้อมือ
ถ้าบิดข้อมือ
ทำได้โดยเหยียดแขนให้ตึงแบฝ่ามือออก
โดยหันฝ่ามือออกด้านนอกให้ปลายนิ้วชี้ลง
กล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเรียบ
เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ตามอวัยวะภายใน
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ
อวัยวะย่อยอาหารและอวัยวะต่างๆ
กล้ามเนื้อเหล่านี้ ประกอบด้วยเซลล์
ที่มีลักษณะยาวหัวท้ายแหลม
คุณสมบัติ
ของกล้ามเนื้อ
มีความสามารถที่จะ
หย่อนตัวหรือยืดตัวได้
มีความยืดหยุ่นคล้ายยาง
มีความสามารถที่จะหดตัวได้
มีความสามารถ
ที่จะดำรงคงอยู่ได้
มีความรู้สึกต่อสิ่งเร้า
กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
สาเหตุของอาการ
ปวดกระดูกและกล้ามเนื้อ
การทำงานในท่าทางซ้ำๆเกิด
ความทนทานของกล้ามเนื้อและข้อ
การทำงานให้เหมาะสม
การออกแรงแบกหาม
ของที่มีน้ำหนักมากเกินไป
กล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อมีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว
การทำงานของกล้ามเนื้อยึดกระดูกถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก
เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับโครงกระดูก
กลไกการเกิดอาการปวด
จากกระดูกและกล้ามเนื้อ
อาการปวดจากกล้ามเนื้อ
และเส้นเอ็นอักเสบ
ปวดคอ
การเคลื่อนไหวของโครงสร้างคอ
คอมีประสาท 8 คู่ทำหน้าที่รับรู้ความรู้สึก
การทำงาน
ของคอ
สามารถรับน้ำหนัก
ประมาณ 5.45 กิโลกรัมเท่านั้น
น้องพอไม่ด้านหน้าต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ทำให้กล้ามเนื้อบังมัดต้องทำงานหนัก
ปวดบ่าไหล่
การเคลื่อนไหวของแขนทุกครั้ง จะเกิดการ
เสียดสีของเส้นเอ็นกับกระดูกและถุงน้ำที่รองอยู่
ปวดขา
การเคลื่อนไหวของขาประกอบด้วย
การทำงานประสานกันของสีระบบ
กล้ามเนื้อขาต้องเกร็งอยู่ตลอดเวลา
ทำให้เลือดไหลไปเลี้ยงกล้ามเนื้อน้อยลง
การยกของหนัก การนั่งนานๆ
หรือเอี้ยวตัวผิดท่า
ปวดข้อมือและ
ชาปลายนิ้วมือ
เมื่อมีการใช้งานบริเวณข้อมือ
อย่างต่อเนื่องและเป็นระยะเวลานาน
อาการปวดจากกระดูกเนื่องจากกระดูกเสื่อมและกระดูกพรุน
ภาวะแทรกซ้อน
จากการเข้าเฝือก
การพับเสือกไม่ดี กดผิวหนัง
มีวัตถุแปลกปลอมเข้าไปในเฝือก
มีอาการชาหรือไม่สามารถ
ขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าได้
ตำแหน่งที่พบบ่อย
common peroneal nerve
เสือกหลวม ใส่เฝือกไม่ถูกต้อง
ก็ไหลเวียนถูกรบกวน
TRACTION
Skeleton traction
Manual traction
Skin traction
หลักการดึง
TRACTION
Line of pull
แนวของการดึง ต้องผ่านตำแหน่งที่มีกระดูกหัก
Continuous
ควรดึงตลอดเวลา
Position
การเคลื่อนไหวควรเป็นไปตามแนวของ traction
Friction
เป็นแรงเสียดทานซึ่งทำให้
ประสิทธิภาพของ trection น้อยลง
ตำแหน่งที่มี Friction ปุ่มเชือกที่อยู่บนลูกรอก
Counter traction
แก้ไขโดยการยกปลายเตียงสูง
การที่มีแรงต้านในทิศทาง
ตรงข้ามกับแนวดิ่งที่เข้า traction