Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
โรคพฤติกรรมเกเร (conduct disorder หรือ CD)
อยู่ในกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพฤติกรรม
โดยจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่วัยเด็กหรือวัยรุ่นด้วยการมีพฤติกรรมกรรม ก่อกวน เป็นปัญหา และไม่สามารถ
ควบคุมอารมณ์และพฤติกรมของตนเองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได้โดยที่พฤติกรรมที่มีลักษณะละเมิดสิทธิของ
ผู้อื่นเช่น
ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคพฤติกรรมเกเร
เด็กผู้ชายจะเริ่มแสดงอาการช่วงอายุ 10-12 ปี
เด็กผู้หญิงจะเริ่มแสดงอาการช่วงอายุ 14-16 ปี
สาเหตุของโรคพฤติกรรมเกเร
ปัจจัยทางชีวภาพ (biological factor)
สารสื่อประสาท
มีระดับของdopamine และ serotonin สูง แต่มี CSF 5HAAซึ่งสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ํากับความก้าวร้าวและความรุนแรง
การที่ได้รับสารพิษตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
ยีนที่ทําให้เกิดอาการโรคสมาธิสั้น
การมีโรคความผิดปกติของการเรียนรู้ (learning disorders หรือ LD)
ปัจจัยด้านจิตสังคม (psychosocial factors)
วิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่
ได้รับความกระทบกระเทือนทางจิตใจ
ลักษณะพื้นอารมณ์
การไม่รับการยอมรับจากเพื่อนก็มีอิทธิพลอย่างมาก
การบําบัดรักษาโรคพฤติกรรมเกเร
เน้นการรักษาแบบองค์รวมทั้งทางกาย-จิตสังคม-อารมณ์ที่มีลักษณะที่ให้เด็กสามารถดําเนินชีวิตไปตามปกติและควรใช้หลายวิธีร่วมกันและต้องตอบสนองต่อความต้องการของเด็กและครอบครัว
การรักษาทางกาย
การรักษาทางยา
เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นอันตรายต่อผู้อื่น
ใช้ยาประเภท antipsychotics =haloperidol (haldol)
risperidone(risperdal) olanzapine (zyprexa)
มีโรคร่วมพวก โรคอารมณ์สองขั้ว
รักษาโดยให้ยา lithium
เด็กมีอาการหุนหันพลันแล่น หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่ายอารมณ์ขึ้นๆลงๆ
ให้ยาพวก selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs)
การรักษาทางจิต
การให้คําปรึกษารายบุคคล โดยมุ่งเน้นในเรื่องการฝึกให้ด็กมีทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยใช้สติปัญญา ผ่านการเลียนแบบ และการแสดง บทบาทสมมุติ
ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการเรียนรู้และทักษะการเข้าสังคม
การอบรมพ่อแม่ (parenting program) เพื่อแก้ไขพ่อแม่เรื่องความไม่สม่ําเสมอในการออกกฎระเบียบและการปฏิบัติตามกฎต่างๆ ภายในบ้าน แก้ไขในเรื่องการลงโทษที่รุนแรง การให้รู้จักใช้การ เสริมแรงทางบวก
การรักษาทางอารมณ์
การบําบัดในเรื่อง anger management หรือดนตรีบําบัดในกรณีที่
เด็กมีอารมณ์โกรธอย่างรุนแรงไม่สามารถควบคุมตนเองได้หรือหากเด็กมีอาการซึมเศร้า ก็ควรได้รับการบําบัด ทางความคิด พฤติกรรม และสติปัญญา (cognitive behavioral therapy หรือ CBT)
การบําบัดทางจิตวิญญาณ
เป็นการช่วยให้เด็กเข้าใจตนเอง ค้นพบตนเอง มีจุดมุ่งหมายหรือมีความหวังในชีวิต มีสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ เช่น จิตบําบัดรายบุคคล และกลุ่มจิต
บําบัด
การพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดกับเด็กและครอบครัวให้เกิดความไว้วางใจและให้ความร่วมมือในการรักษา
สื่อสารกับเด็กและครอบครัวให้ชัดเจนเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทีมสหสาขาวิชาชีพ คาดหวังให้เด็กและครอบครัวประพฤติปฏิบัติ รวมทั้งป็นการกําหนดกฎระเบียบในการอยู่รวมกัน
สื่อสารกับเด็กอย่างสม่ําสมอเพื่อมิให้เด็กคาดเดาเหตุการณ์ต่างๆไปเองเพื่อการเป็นแบบอย่างให้เด็กเรียนรู้วิธีการติตต่อสื่อสารที่ถูกต้องเหมาะสม
เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา(intellectual disability)
ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการที่สมองของเด็กหยุด
พัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์เป็นความบกพร่องของการทําหน้าที่ของสติปัญญาและการปรับตัวส่งผลให้เกิดความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่างๆ กพร่อง
ลักษณะประกอบกันใน 3 ลักษณะ
ความบกพร่องของการปรับตัว
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัว
ความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กจะมีลักษณะอาการ
2) มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา
3) มีปัญหาด้านพฤติกรรม
1) มีพัฒนาการล่าซ้ํา ทุกๆด้าน
4) มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่าง ๆ
เมื่อพิจารณาจากความบกพร่องในการทําหน้าที่ 3 ด้านได้แก่ ความคิด สังคม และการปฏิบัติแยกได้ 4 ระดับความรุนแรง
Moderate intellectual disability
ระดับ IQ 35-49 ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง
ด้านความคิด ทักษะการสื่อสารการพูดการอ่าน การเขียน ทักษะความคิดการคํานวณ การเข้าใจเวลา และการเงินมีข้อจํากัด
ด้านสังคม จะรับรู้ระเบียบทางสังคมได้ไม่ถูกต้อง มีข้อจํากัดในการตัดสินใจทางสังคม และการสื่อสาร
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองในการรับประทานอาหาร แต่งกาย ขับถ่ายสุขอนามัย และการทํางานบ้าน โดยต้องใช้เวลาในการฝึกมากกว่าเด็กที่มีพัฒนาการปกติ
Severe intellectual disability
ระดับ IQ 20-34 ต้องการความช่วยเหลือมาก
ด้านความคิด มีข้อจํากัด ด้านการคิด การใช้ภาษา ต้องช่วยเหลือในการแก้ปัญหาตลอดชีวิต
ด้านสังคม มีข้อจํากัดใการพูด อาจพูดได้เป็นคํา ๆ หรือวลี จะมีสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวและผู้คุ้นเคย
ด้านกาปฏิบัติต้องการความช่วยเหลือทุกอย่างในการทํากิจวัตรประจําวัน เช่น การรับประทานอาหาร แต่งตัว อาบน้ํา ต้องใช้เวลาอย่างต่อเนื่องในการฝึกและช่วยเหลือบางรายพบพฤติกรรมที่เป็นปัญหาร่วมด้วย
Mild intellectual disability
ระดับ IQ 50-69 50-69 ต้องการความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว
ด้านความคิด เด็กจะมีความยากลําบากในการเรียนรู้ทักษะเกี่ยวกับการอ่าน การเขียน การคิดคํานวณและความบกพร่องของความคิดเชิงนามธรรม
ด้านสังคม เด็กจะไม่มีวุฒิภาวะ มีปัญหาในการปฏิสัมพันธ์ด้านทางสังคมกับบุคลอื่น
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองได้เหมาะสมตามวัย อาจต้องการความช่วยหลือในการทํากิจกรรมที่มีความซับซ้อน
Profound intellectual disability
ระดับ IQ < 20 ต้องการความช่วยหลือตลอดวลา
ด้นความคิด และด้านสังคม มีข้อจํากัดในการเข้าใจสัญลักษณ์ของการสื่อสารด้วยคําพูด หรือท่าทาง อาจเข้าใจคําหรือท่าทางง่าย ๆ มีควาบกพร่องทางร่างกาย และการรับความรู้สึกทําให้ไม่สามารถมีกิจกรรมทางสังคมร่วมกับคนอื่นได้
ด้านการปฏิบัติ ต้องพึ่พาผู้อื่นในทุกด้านของการทํากิจวัตรประจําวัน การดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย ต้องอาศัยการฝึกอย่างมากในการช่วยเหลือตนเอง
สาเหตุของเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของยีนที่มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมทําให้เกิดความผิดพลาดของการรวมตัวของยีน หรือความผิดปกติเกิดขึ้นที่โครโมโชม
2) ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ในระหว่างการตั้งครรภ์ถ้ามารดามีการใช้แอลกอฮอล์ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ อาจส่ผลต่อพัฒนาการของสมองทารกในครรภ์ได้
ระยะคลอด
การคลอดก่อนกําหนด เด็กทารกจะมีน้ําหนักตัวแรกคลอดต่ํากว่า
เกณฑ์มาตรฐาน กระบวนการคลอดนานผิดปกติ สมองได้รับบาดเจ็บจากการคลอด และจากสาเหตุอื่น ๆ
ระยะหลังคลอด
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโรคที่เกิดในวัยเด็ก เช่น โรคไอกรน โรคอีสุกอีใส โรคหัด อาจนําไปสภาวะเยื่อทหุ้มสมองอักเสบทําให้สมองได้รับความเสียหายจนไม่อาจฟื้นหายกลับมาสภาพเดิมได้ ส่งผลทําให้เกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
3) ปัจจัยทางจิตสังคม พบว่า เด็กที่เติบโตมาท่ามกลางความยากจน ครอบครัวแตกแยกและผู้เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิต จึงทําให้มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญาได้
การบําบัดรักษาเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การรักษาโรคทางกาย ที่เป็นสาเหตุและความผิดปกติที่อาจพบร่วมด้วย เช่น อาการชัก หัวใจพิการแต่กําเนิด หรือภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนที่พบในกลุ่มอาการดาวน์ เป็นต้น
กายภาพบําบัด เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เพื่อแก้ไขการเดินการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ช่วยลดการยึดติดของข้อต่อ ปรับและควบคุมความตึงตัวกล้ามเนื้อให้ใกล้เคียงภาวะปกติมากที่สุด ป้องกันการผิดรูปของข้อต่อต่าง ๆ จัดท่าให้ส่วนต่าง ๆของร่างกายอยู่ในแนวที่ถูกต้องเหมาะสมกายภาพบําบัดไม่มีวิธีการที่แน่นอนตายตัวขึ้นกับลักษณะของความผิดปกติและความรุนแรงของพยาธิสภาพเฉพาะสําหรับเด็กแต่ละราย
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะที่จําเป็นในการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุกๆ ด้านพบว่า เด็กที่ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่เล็ก ๆจะสามารถเรียนรู้ได้เร็วกว่าการกระตุ้นพัฒนาการ
เมื่อเด็กโตแล้ว
อรรถบําบัด เป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการสื่อสาร โดยฝึกเด็กให้ใช้กล้ามเนื้อในการพูด การเปล่งเสียง และการออกสียงที่ถูกต้อง การฝึกพูดต้องกระทําในเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี จึงจะได้ผลดีที่สุด
คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ (Thai DeploymentSkills Inventory: TDSI) แบบประเมินมี 70 ข้อ แบ่งการประเมินเด็กเป็นๆประกอบด้วยข้อทดสอบ 5 ด้านคือ
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (gross motor: GM)
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (fine motor: FM)
ด้านการเข้าใจภาษา (receptive language: RL)
ด้านการใช้ภาษา (expressive language: EL)
ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (personal social: PS)
เป้าหมายเพื่อให้เด็กที่มีภาวะบกพรองทางสติปัญญาสามารถดํารงชีวิตในสังคมได้ใกล้เคียงกับ เด็กปกติมาก โดยให้เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาได้รับการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยเร็วตั้งแต่อายุน้อย ๆ
โรคซน-สมาธิสั้น (ADHD)
จะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่วัยเด็ก โดยมีลักษณะการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ และ/หรือ มีอาการซนไม่อยู่นิ่งส่งผลต่อการทําหน้าที่หรือพัฒนาการของเด็ก อาการขาดสมาธิ
ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคซนสมาธิสั้น
อาการซน ไม่อยู่นิ่ง และอาการหุนหันพลันแล่น มีอาการดังต่อไปนี้ตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไปสําหร้บวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่
อาการขาดสมาธิมีตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป แต่สําหรับวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 17ปีขึ้นไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
สาเหตุของโรคซนสมาธิสั้น
1) ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม
กายวิภาค สรีรวิทยา ของระบบประสาท
การที่สมองถูกทําลาย มีส่วนเกี่ยวข้องกับด้วยโรคซนสมาธิสั้น
สารเคมีของระบบประสาท (neurochemical factors)
การที่เด็ก ADHD มีการหมุนเวียนกันของ dopamine และ norepinephrine มีระดับต่ํากว่าปกติ และมี catecholamine เพิ่มมากขึ้น
2) ปัจจัยก่อนคลอด
การที่หญิงตั้งครรภ์ 3เดือนแรก (first trimester) มีการติดเชื้อ มีการเสพสุรา ยาเสพติดและ/หรือสูบบุหรี่ การคลอดก่อนกําหนดหรือการที่เด็กขาด oxygen ระหว่างคลอด ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุทําให้เด็กมีอาการของ ADHD
3) ปัจจัยทางจิตสังคม
การที่เด็กไม่ได้รับความอบอุ่นเป็นระยะเวลานานๆเหตุการณ์ที่ทําให้เด็กรู้สึกเครียดการที่ครอบครัวของเด็กขาดความสมดุลในครอบครัว
5) ปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง
อารมณ์ของเด็ก ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมที่ถ่ายทอดในครอบคร้ว มาตราฐานของสังคมในเรื่องเกี่ยวกับความประพฤติและการกระทําแต่อย่างไรก็ตามพบว่าสถานะทางสังคมและทางเศรษฐกิจไม่ส่งผล
การบําบัดรักษาโรคซนสมาธิสั้น
ยาทที่นิยมใช้ คือ methylphenidate(ritalin)
ยานี้จะใช้ในเด็กตั้งแต่อายุ 6 ขวบขึ้นไป
ยา amphetamine (dexedrine) นั้น สามารถใช้รักษาเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 3 ขวบขึ้นไป ยานี้จะออกฤทธิ์นานกว่า methylphenidate
การรักษาโดยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม
การให้ความช่วยเหลือเด็กขณะอยู่ที่โรงเรียน (school focused intervention)
การให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งเน้นที่ตัวเด็กเป็นสําคัญ (child focused intervention)
การฝึกอบรมพ่อแม่ในการดูแลเด็ก ADHD เพื่อให้สามารถเลี้ยงดูเด็ก ADHD ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลโรคซนสมาธิสั้น
การวางแผนการพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือเด็กที่มีโรคซนสมาธิสั้น ต้องร่วมกันกับพ่อแม่ผู้ปกครองของเด็ก เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กนําไปปฏิบัติที่บ้านให้มีความต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
ภาวะออทิซึมสเปกตรัม (ASD)
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท ที่มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมการสื่อสารร่วมกับความผิดปกติของพฤติกรรม และความสนใจหมกหมุ่นในบางเรื่อง มีพฤติกรรมซ้ําๆ ซึ่งแสดงอาการในระยะต้นของพัฒนาการ
ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทิซึมสเปกตรัม จะเป็น
ก่อนอายุ 36 เดือนแต่จะไม่ชัดเจนและจะปรากฏให้เห็นในระยะต้นๆทําให้มีความบกพร่องในการทําหน้าที่ในชีวิตประจําวัน ความบกพร่องทางสังคม การทํางาน หรือการทําหน้าที่อื่นๆ
1) มีความบกพร่องด้านการสื่อสารและด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในหลายบริบท
มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร
-ไม่สามารถผสมผสานระหว่างการสื่อสารแบบ
วัจนภาษากับอวัจนภาษา
-มีความบกพร่องในการเข้าใจภาษา
-การใช้ภาษากายในการสื่อสาร
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในสัมพันธภาพ
-ไมีความผิดปกติในการเข้าหาหรือเริ่มต้นมีปฏิสัมพันธ์บุคคลอื่น
-ไม่สามารถเลียนแบบการกระทําของผู้อื่นได้
มีความผิดปกติทางอารมณ์และทางสังคม
-ไม่สามารถตอบสนองปฏิสัมพันธ์ทาง
-สังคมกับบุคคลอื่นได้ไม่มีการสบสายตา
-ไม่มีการแสดงออกทางสีหน้า
2) มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จํากัดซ้ําๆ (stereotyped)
ยึดติดกับสิ่งเดิม กิจวัตรประจําวันเดิม
หรือแบบแผนการสื่อสารเดิมๆซ้ําๆ
มีความสนใจที่จํากัดในขอบเขตที่จํากัดหรือเฉพาะเจาะจง
หมกหมุ่นกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซ้ํา
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
มากหรือน้อยกว่าบุคคลทั่วไป
สาเหตุของของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
2) ปัจจัยทางสมอง
มีช่องว่างในสมองมีขนาดใหญ่กว่าปกติขนาดเซลล์สมองที่มีขนาดเล็ก หรือใหญ่กว่าปกติ ความไม่สมดุลของการทํางานของสมองส่วนต่างๆ
มีความผิดปกติของสารเคมีในสมอง เช่น ความไม่สมดุลของสารสื่อประสาทประเภทซีโรโทนิน (serotonin)
3) ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์และการคลอด เช่น เลือดออกในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ติดเชื้อหัดเยอรมัน ได้รับสารตะกั่ว เป็นต้น
อายุพ่อแม่ พบว่า เด็กที่เกิดกับพ่อแม่ที่มีอายุมากขึ้น เด็กที่คลอดก่อนกําหนด อายุครรภ์น้อยกว่า33 สัปดาห์หรือน้ําหนักแรกเกิดต่ํากว่าเกณฑ์มาตราฐานมีความเสี่ยงสูงในการเป็นภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ภาวะที่ไม่เข้ากันของภูมิคุ้มกันระหว่างมารดาและทารก (immunologicalincompatibility) ทําเกิดการเซลล์ประสาทของทารก
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม
การบําบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
เป้าหมายสำคัญ “เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านสังคม และด้านการสื่อสารที่ดีขึ้น และลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์”
1) การรักษาทางยา ยาใช้เพื่อบรรเทาอาการบางอย่างทีเกิดร่วมกับภาวะออทิซึมสเปกตรัม ไม่ทำให้หายขาด
ยา methylphenidate ที่ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง วิ่งไปมา
ยา haloperidol กับ risperidone ที่ใช้บรรเทาอาการหงุดหงิด พฤติกรรมวุ่นวายก้าวร้าว พฤติกรรมทําร้ายตนเองหรือผู้อื่น
ยา fluoxetine ที่ใช้บรรเทาอาการซึมเศร้า ลดพฤติกรรมซ้ําๆ
ยา lorazepam ที่ใช้บรรเทาอาการวิตกกังวล
2) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร
โดยการทําอรรถบําบัด (speech therapy) ซึ่งถือว่าเป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการสื่อสารที่สําคัญ
3) พัฒนาด้านทักษะทางสังคม (social skills)
การฝึกเด็กให้ใช้ภาษาทางกายให้เหมาะสม สบสายตาบุคคลอื่นเวลาต้องการสื่อสาร กระตุ้น ความเข้าใจในอารมณ์ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4) พฤติกรรมบําบัด (behavioral therapy)
การบําบัดโดยการปรับพฤติกรรม เป็นสิ่งที่จําเป็นยิ่งในเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัมที่จะช่วยให้เด็กสามารถควบคุมกับพฤติกรรมตนเองได้ในอนาคต
5) การบําบัดทางความคิด และพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy: CBT)
“เพื่อลดความวิตกกังวลซึ่งมัก เป็นโรคร่วมในเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม”
9) การให้คําแนะนําครอบครัว
ครอบครัวของเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัมมีส่วนสําคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ
7) ดนตรีบําบัด (music therapy)
เพื่อพัฒนาทักษะที่จําเป็นนการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ฝึกการแสงออกทางด้านอารมณ์ทางสังคม ส่งเสริมการสื่อสารโดยการใช้ภาษาทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษาให้ดียิ่งขึ้นด้วย
8) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
การจัดการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก โดยการจัดโปรแกรมการศึกษาแบบรายบุคคล
6) ศิลปะบําบัด (art therapy)
เพื่อช่วยส่งเสริมการพัฒนาการด้านอารมณ์ และทักษะด้านอื่นๆ โดยศิลปะจะช่วยพัฒนาด้านจิตใจ เสริมสร้างสมาธิ สร้างจินตนาการ และการสื่อสารผ่านงานศิลปะ
10) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ (vocational rehabilitation)
การฝึกอาชีพไม่เพียงมีประโยชน์ในการฝึกทักษะพื้นฐานเฉพาะทางอาชีพเท่านั้น
การใช้แบบคัดกรองพัฒนาการตามช่วงวัย ซึ่งแบบประเมินที่นิยมใช้ในประเทศไทยเช่น แบบคัดกรองโรคกลุ่มพัฒนาการผิดปกติรอบด้าน (PDDSQ) 2 ช่วงอายุ
PDDSQ ที่ใช้คัดกรองเด็กที่มีอายุ1-4 ปี
PDDSQ ที่ใช้คัดกรองเด็กที่มีอายุ4-18 ปี