Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal bleeding(ต่อ) - Coggle Diagram
Gastrointestinal bleeding(ต่อ)
10) Upper GI bleeding
10.9 การผ่าตัดในระบบทางเดินอาหารส่วนบน
Duodenal/Gastric ulcer surgery
เพื่อหยุดเลือดที่ออกและระงับการหลั่ง ของกรด
Truncal vagotomy with pyloroplasty
การตัดใยประสาท vagusnerve ลดการ กระตุ้น parietal cell ลดการหลั่งกรด ร่วมกับผ่าตัด เพื่อขยายทางออกของ กระเพาะอาหารส่วนpylorus ให้กว้างขึ้น-นิยมมาก
Truncal vagotomy with antrectomy
ตัดกระเพาะอาหารส่วนantrumออกทั้งหมด ส่วนที่เหลือไปต่อกับduodenum
Truncal Vagotomy and pyloroplasty with wedge resection of ulcer
ผ่าตัดแผลในกระเพาะ
Proximal gastric vagotomy
เป็นการผ่าตัดโดยตัดเฉพาะ ใยประสาทส่วนProximal
10.10 การผ่าตัด Vagotomy ร่วมกับ Gastrectomy
Gastroduodenostomy (Billroth I)
=เป็นการผ่าตัดเอา กระเพาะอาหาร ส่วนที่เลือดออก แล้วต่อ เชื่อมกระเพาะอาหารกับ ลำไสเล็กส่วน Duodenal
Gastrojejunostomy (BillrothII)
=การผ่าตัดเอาบริเวณที่มีเลือดออก แล้วตัดต่อเชื่อมระหว่าง กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วน Jejunum โดยเย็บปิด Stump ของ Duodenum
10.11 ภาวะแทรกซ้อนภายหลังผ่าตัด
1.เกิดขึ้นโดยตรง จากการผ่าตัด
Intra-operative bleeding (ภาวะการตกเลือดระหว่างผ่าตัด)
Common bile duct injury and difficult duodenal stump เกิดจากการตัดส่วนของ Common bile duct หรือส่วน Hepatoduodenal ligament ได้โดยไม่ตั้งใจ
การตัดขาดของ Duodenum อาจมีการรั่วของรอยต่อ (Anastomosis leakage) และการแตกของส่วนปลายของ Duodenal ที่เย็บปิดไว้ (Duodenal stump blow out)
Disruption of ampulla of Vater เกิดจากการตัด Pancreas และDuodenum แยกจากกัน
Leakage of gastroduodenostomy (Billroth I) and gastrojejunostomy (Billroth II) เกิดขึ้นจากการตัดต่อที่เนื้อเยื่อที่ไม่สมบูรณ์ มีการอักเสบ หรือมีความตึงตรงรอยต่อสูง
Ischemic necrosis of gastric remnant การตัดขาดของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงกระเพาะอาหาร
Stomal obstruction เกิดใน 3-4 วันแรกหลังการผ่าตัด อาจเกิดขึ้นจาก Tissue edema ทาให้บวมคล้ายมี Obstruction (อุดตัน)
2.เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
Dumping syndrome
=การทำ Bypass/Resection ของ Stomach ทำให้ Pyloric Function Impairment ทำให้อาหารผ่านลงสู่ลำไส้เล็กส่วนต้นเร็วขึ้น มีการหลั่งสารสื่อสารทางประสาท ทำให้เกิดอาการทาง Vasomotor
Post-vagotomy diarrhea (ท้องเสีย)
เกิดขึ้นประมาณ 20 % ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด truncal vagotomy