Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal bleeding(ต่อ) - Coggle Diagram
Gastrointestinal bleeding(ต่อ)
10) Upper GI bleeding
10.6 หลักการการดูแลเบื้องต้น
การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
1.1 การประเมินทั่วไปอย่างรวดเร็วและ ให้คะแนนเพื่อจัดหมวดหมู่ผู้ป่วย
1.2Taking history and P/E
1.3 Nasogastric intubation
การแก้ไขภาวะวิกฤติเบื้องต้น (Initial Resuscitation)
Initial resuscitation
ABCs, start 2 large-bore IV,resuscitate initially with 1-2 L of crystalloid
V/S ประเมิน hypovolemia or shock
Treatment plan
ผลLab = Hb, Hct, BUN
Location of care; ICU, ward
ประเมิน degree of anemia by
Blatchford score or Rockallscore
ให้เลือด
การดูแลภาวะวิกฤติเฝ้าระวัง และหาตำแหน่งของเลือดออก
การให้การวินิจฉัยและ รักษาเฉพาะเจาะจง
10.8 สวนล้างกระเพาะอาหาร (Gastric larvage)
เพื่อประเมินปริมาณของเลือด ที่ออก&active bleeding
วิธีการ
ใส่ท่อผ่านจมูก (nasogastric tube) ลงกระเพาะอาหาร
น้ำยาที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ได้แก่ NSS หรือน้ำเย็น(ice–cold lavage ) 17-20 องศาเซลเซียส
ใส่น้ำลงไปทางสายยาง ครั้งละ50-100 ซีซี
ขณะใส่ต้องสังเกตดูว่าผู้ป่วยสามารถรับสารน้ำ ได้ขนาดไหน เช่น
อาเจียน ชีพจรเต้นเร็วขึ้น ต้องหยุด!!
บันทึกจานวนน้ำที่ใส่เข้าและออกมาต้องสมดุล
การล้างกระเพาะอาหารเอาลิ่มเลือดออก และเพื่อช่วยห้ามเลือด จนน้าที่ดูดออกมาใส
ถ้าล้างกระเพาะอาหารด้วยน้ำ 2,000 มล.แล้วพบว่าน้ำล้างยังเป็นสีแดงหรือมีเลือด แสดงว่าเลือดยังออกมาก
การรักษา
ส่องกล้องเพื่อรักษาตรวจ กระเพาะอาหารและลำไส้ (endoscopy)
หาตำแหน่งเลือดออก
ภาวะแทรกซ้อน หรือ ข้อบ่งชี้ เช่น ทะลุ อุดตัน หรือมีก้อนมะเร็ง
จะต้องผ่าตัด!!
10.7 Initial Resuscitation
ให้สารน้ำโดย Large- bore intravenous lines or central lines
สวนล้างกระเพาะอาหาร+เตรียมการตรวจส่องกล้อง
ให้สารน้ำ Volume expander ชนิดสังเคราะห์ กรณียังไม่มีเลือดร่วมกับ crystalloid
ให้เลือดทันที กรณีชีพจร
ไม่สม่ำเสมอและBPไม่คงที่
ถ้ามีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ควรให้ FFP และ Platelet หลังการให้เลือด
เฝ้าระวังสัญญาณชีพต่อเนื่องทุกชั่วโมง, O2 pulse oximeter, ปริมาตรปัสสาวะต่อชั่วโมง กรณีผู้ป่วยมีอาการสับสนหรือไม่รู้สึกตัว อาจต้องใส่ ท่อช่วยหายใจ