Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวช
stress diathesis model
การเกิดโรคทางจิตเวชอยู่กับความรุนแรงของการได้รับสถานการณ์ความตึงเครียดทางสิ่งแวดล้อม (stress) ซึ่งแปรผักผันกับความเสี่ยงในการเกิดโรคที่บุคคลนั้นที่มีอยู่ (diathesis
case formulation
เป็นการขยายมุมมองจาก stress diathesis model ให้เป็นภาพที่กว้างขึ้น โดยพิจารณาปัจจัย 4 ประการ (4 P’s)
1.ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors)
2.ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors)
3.ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
4.ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
อาการวิทยาและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
อาการแสดง (signs)
การแสดงออกทางสีหน้าที่จำกัด (restricted affect)
การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างเชื่องช้า (psychomotor retardation)
อาการ (symptoms)
มีอารมณ์เศร้า รู้สึกหมดเรี่ยวแรง
กลุ่มอาการ (syndrome)
อาการและอาการแสดงหลาย ๆ อย่างที่พบร่วมกัน แล้วถูกเรียกด้วยชื่อเฉพาะกลุ่มอาการ
โรคทางจิตเวช (psychiatric disorder หรือ mental disorder)
ความผิดปกติของพุทธิปัญญา (cognition) การควบคุมอารมณ์ (mood)
พฤติกรรม (behavior) ที่สะท้อนถึงความผิดปกติทางจิต (psychological)
ทางชีววิทยา (biological) หรือกระบวนการทางพัฒนาการ (developmental process)
กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช สามารถจัดได้เป็น 7 กลุ่ม
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว (disturbance of consciousness)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว (disturbance of level of consciousness)
coma สภาวะที่ไม่รู้สึกตัว
clouding of consciousness ความรู้สึกตัวไม่สมบูรณ์
disorientation ความบกพร่องของการตระหนักรู้
drowsiness ความสามารถในการตระหนักรู้
somnolence อาการง่วงมากผิดปกติ
stupor ไม่สามารถตระหนักรู้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม มักป็นลักษณะที่พบใน delirium
sundowning ลักษณะที่อาการทางจิต
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)
distractibility ไม่สามารถพุ่งความสนใจในสิ่งที่สำคัญได้
hypervigilance สนใจและมุ่งความสนใจในสิ่งเร้าทุกอย่าง
trance ความใส่ใจจะถูกรวมไว้ที่จุดเดียว
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง (disturbance of suggestibility)
folie a deux ภาวะที่บุคคลสองคนมีความผิดปกติทางจิตร่วมกัน
hypnosis ภาวะที่มีการชักนำให้บุคคลมีระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbance of motor behavior)
abulia การไม่มีเจตจำนง (amotivation) ไม่คิดริเริ่ม ไม่ทำอะไร
acting out การกระทำอย่างวู่วาม
aggression
automatism
catatonia
catalepsy
catatonic excitement
catatonic stupor
catatonic rigidity
catatonic posturing
catatonic flexibilitas (waxy flexibility)
echopraxia
mannerism
negativism
stereotypy
cataplexy ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหายไปอย่างฉับพลัน
command automatismคำชักจูงอย่างอัตโนมัติ
mutism
motor overactivity
akathisia
hyperactivity
tic
compulsion
psychomotor agitation
hypoactivity
ความผิดปกติของการพูด (disturbance of speech)
cluttering
dysarthria
dysprosody
nonspontaneous speech
poverty of speech
poverty of content of speech
pressure of speech
stuttering คือ พูดติดอ่าง
Volubility หรือ logorrhea พูดมากและพูดเร็วอัดกัน
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of emotion)
ความผิดปกติของอารมณ์ที่แสดงออก (disturbance of affect)
appropriate affect
blunted affect
flat affect
inappropriate affect
labile affect
restricted affect หรือ constricted affect ความเข้มขัน (intensity)
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of mood) mood
alexithymia
ambivalence
anhedonia
anxiety
apathy
depression
dysphoric mood อารมณ์ไม่พึงพอใจ
ecstasy
elevated mood
euphoria
euthymic mood
expansive mood
fear สภาวะทางอารมณ์ที่ตอบสนองต่ออันตรายที่มาคุกคาม
free-floating anxiety
grief,guilt ,
irritable mood
mood swing , shame
ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด (general disturbance in form or process of
thinking)
autistic thinking
illogical thinking
reality testing
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disturbances in form of thought)
circumstantiality
clang association
flight of ideas
incoherence
loosening of association
neologism
perseveration
tangentiality
thought blocking
verbigeration
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด (disturbance of content of thought)
delusion อาการหลงผิด
bizarre delusion
delusion of control
thought broadcasting
thought control
thought insertion
thought withdrawal
delusion of self-accusation
nihilistic delusion
paranoid delusion
delusion of persecution
delusion of grandeur
delusion of reference
somatic delusion
systematized delusion
obsession
overvalued ide
phobia
acrophobia
ailurophobia
agoraphobia
claustrophobia
social phobia
zoophobia
poverty of content
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception)
ชนิดที่1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน (hallucination)
auditory hallucination
gustatory hallucination
olfactory hallucination
tactile หรือ haptic hallucination
visual hallucination
audible thought
hypnagogic hallucination
hypnopompic hallucination
lilliputian hallucination หรือ micropsia
somatic hallucination
ชนิดที่ 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง (illusion)
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์ conversion และ dissociation
derealization
depersonalization
fugue ,hysterical anesthesia
ชนิดที่ 4 ความผิดปกติของการรับรู้ที่เกิดความผิดปกติของพุทธิปัญญา(cognition)
anosognosia
astereognosis
prosopagnosia
somatopagnosia
visual agnosia
ความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory)
immediate memory
recent memory
recent past memory
remote memory
เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10)
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors)
การทำหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
dopamine
serotonin
norepinephrine
GABA (gamma amino butyric acid)
acetylcholine
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
พันธุกรรม (genetics)
ความผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
ความเจ็บป่วยหรือโรคทางสมอง เช่น สมองอักเสบ, เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ชิพิลิสขึ้นสมอง
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์มองว่า ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากการทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน (Id, Ego และ Superego)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories) มองว่าปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง ขาดความตระหนักรู้ หรือยอมรับตนเองและสิ่งแวดล้อมตามความเป็นจริง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม มองว่าปัญหสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อมต่าง ๆในช่วงชีวิตที่ผ่านมา
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม มองปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ความคิด ความเชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผลขอมนุษย์
ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ บริเวณที่ตั้งของที่อยู่อาศัย ลักษณะของชุมชนข้างเคียง ความหนาแน่นของชุมขน
ความสัมพันธ์ในครอบครัว ครอบครัวที่อบอุ่น สมาชิกในครอบครัวก็จะมีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย และไว้วางใจต่อกัน
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู ในลักษณะต่าง ๆ
การอบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (authoritarian) ทำให้เด็กจะขาดความใกล้ชิดกับผู้ปกครอง ไม่กล้าโต้แยัง ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ดื้อเงียบ ก้าวร้าว
การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย (rejection) เด็กขาดโอกาส และขาดที่พึ่งในการเผชิญชีวิต
การอบรมเลี้ยงดูแบบทนุถนอมมากเกินไป (overprotection) เด็กเอาแต่ใจตนเองไม่อดทนต่อความยากลำบาก ไม่ต่อสู้ชีวิต
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (democracy) เด็กมีความสามารถในการปรับตัวได้ดี โดยพ่อและแม่จะเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผล
การศึกษา การขาดการศึกษา การศึกษาในภาวะที่ต้องมีการแข่งขันกันสูง
เศรษฐกิจและสังคม ปัญหาทางด้านการเงินหรือความยากจน
วัฒนธรรม วัฒนธรรมในแต่ละเชื้อชาติที่แตกต่างกัน
การเมือง การเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมืองการปกครอง
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
"ความผิดปกติทางจิต" อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำ สติปัญญา ประสาทการรับรู้ หรือการรู้เวลา สถานที่ หรือบุคคล
"ผู้ป่วย" บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตซึ่งควรได้รับการบำบัดรักษา
"ผู้ป่วยคดี" ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการสอบสวน ไต่สวนมูกฟ้อง หรือพิจารณาในคดีอาญา
"ภาวะอันตราย" พฤติกรรมที่บุคคลที่มีความผิดปกดิทางจิตแสคงออกโดยประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต
"คุมขัง" การจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลด้วยอำนาจของกฎหมายโดยการคุมตัว ควบคุม กัก กักกัน ขัง กักขัง จำขังและจำคุก
มาตรา 12 สถานบำบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
มาตรา 13 คณะกรรมการสถาบำบัดรักษามีอำนาจหน้าที่
ตรวจวินิจฉัย ประเมินอาการ และมีคำสั่งให้บุคคลนั้นต้องเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานบำบัด
พิจารณา ทำความเห็นเกี่ยวกับการบำบัดรักษาและผลการบำบัดรักษาตามพระราชบัญญัติ
มาตรา 15 ผู้ป่วยย่อมมีสิทธิ
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ
ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม
มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย
ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา 17 การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย จะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็น เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่น
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาท หรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใดที่อาจเป็นผลทำให้ร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวร ให้กระทำได้ในกรณีดังต่อไปนี้
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย
มาตรา 19 การทำหมันผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่ได้ปฏิบัติตามมาตรา 18 ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ
มาตรา 20 การวิจัยใด ๆที่กระทำต่อผู้ป่วยจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วยและต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 21 การบำบัดรักษาจะกระทำได้ ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผล ความจำเป็นในการบำบัดรักษา รายละเอียด และประโยชน์ของการบำบัดรักษา
มาตรา 22 บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เป็นบุคคลที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีภาวะอันตราย
มีขนาดความรุนแรงของอันตราย (magnitude of harm) ต่อบุคคลนั้น
มีความเป็นไปได้ที่อันตรายจะเกิดขึ้น (probability that harm will occur) ในอนาคตจากพฤติกรรมของบุคคล
มีความถี่ของอันตรายที่จะเกิดขึ้น (frequency with which the harm will occur)
มีความเป็นอันตรายที่ใกล้จะถึง (imminence of the harm)
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
ผู้ป่วยขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา
มาตรา 23 ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 24 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจได้รับแจ้งตามมาตรา 23 หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 ให้ดำเนินการนำตัวบุคคลนั้นไปยังสถาพยาบาลของรัฐ
มาตรา 27 ให้แพทย์อย่างน้อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่างน้อยหนึ่งคน ที่ประจำสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษา ตรวจวินิจฉัย และประเมินอาการเบื้องต้นของบุคคลที่มีการนำส่ง ตามมาตรา 24 ให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า
มาตรา 35 ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจำเลย ไปรับการตรวจที่สถานบำบัดรักษาพร้อมทั้งรายละเอียดพฤติการณ์แห่งคดี เมื่อสถานบำบัดรักษารับผู้ต้องหาหรือจำเลยไว้แล้ว ให้จิตแพทย์ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติ และทำความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของพนักงานสอบสวนหรือศาลว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยสามารถสู่คดีได้หรือไม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29 "บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการี คือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด ผู้สืบสันดาน คือ ลูก หลาน เหลน ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์หรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาล แล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถคำสั่งนั้นให้โฆษณาตามในราชกิจจานุเบกษา"
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30 "บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล"
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 31 "การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ทำลงไป การนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ"
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32 "การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถการนั้น จะเป็นโมฆียะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ด้วยว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้นวิกลจริตอยู่และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต"
การเคารพเอกสิทธิ์
ความซื่อสัตย์
ความเอื้ออาทรต่อผู้ป่วย
ระเบียบวินัย
ความยุติธรรมหรือความเสมอภาค
การเสียสละ
ความรับผิดชอบ
การบอกความจริง
การรักษาความลับ