Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือดูเเลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพไม่รุนเเรงเเละไม่ซับ…
การช่วยเหลือดูเเลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพไม่รุนเเรงเเละไม่ซับซ้อน
ปัญหาสุขภาพของระบบประสาท เเละอวัยวะรับรู้พิเศษที่พบบ่อยในวัยผู้ใหญเเละผู้สูงอายุ
กะโหลกศรีษะ (Skull)
กระดูกข้างขม่อม (Parietal bone) 2 ชิ้น
กระดูกขมับ (Temporal bone) 2 ชิ้น
กระดูกหน้าผาก (Frontal bone) 1 ชิ้น
กระดูกท้ายทอย (Occipital bone) 1 ชิ้น
กระดูกหุ้มสมอง (Neurocranium) หรือกล่องสมอง (brain case) เป็นส่วนของกะโหลกศีรษะที่ทาหน้าที่ป้องกันสมองที่อยู่ภายในโพรงกะโหลก (cranial cavity) ซึ่งมีด้วยกัน 8ชิ้น ได้แก่
กระดูกสฟีนอยด์ (Sphenoid bone) 1 ชิ้น
กะโหลกศีรษะของมนุษย์ประกอบด้วยกระดูกทั้งหมด 22 ชิ้น
สมองส่วนหน้า ( forebrain)
เซรีบรัม ( Cerebrum ) เป็นส่วนของสมองที่อยู่หน้าสุดและมีขนาดโตที่สุด จะมีผิวด้านนอกเป็นเนื้อสีเทา ส่วนด้านในเป็นขาว
ไดเอ็นเซฟฟาลอน(Diencephalon) เป็นส่วนของเนื้อสมองที่อยู่ตรงกลาง
ออลเฟกทอรีบัลบ์ (Olfactory bulb) เป็นส่วนที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
การตอบสนองต่อการเรียกหรือการพูด (V= Verbal)
5 คะแนน พูดคุยได้ ไม่สับสน
1คะแนน ไม่ออกเสียงเลย
3คะแนน พูดเป็นคา ๆ
2คะแนน ส่งเสียงไม่เป็นคาพูด
4คะแนน พูดคุยได้ แต่สับสน
T= กรณีใส่ท่อหลอดลม
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury) หมายถึงร่างกายส่วนที่อยู่ต่ากว่าระดับพยาธิสภาพ มีบางส่วนของระบบประสาทที่ยังทาหน้าที่อยู่ เช่น ผู้ป่วยมีกาลังกล้ามเนื้อหรือมีการรับรู้ที่ผิวหนังในส่วนที่ถูก
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Complete cord injury) หมายถึง การบาดเจ็บที่ทาให้ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมด ผู้ป่วยจะสูญเสียการทางานของกล้ามเนื้อและความรู้สึกในส่วนที่ต่ากว่าพยาธิสภาพ ควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดรอบทวารหนักไม่ได้ เกิดอัมพาตอย่างถาวร ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ tetraplegia และ paraplegia
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospitalphase)
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
3.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายและเจ็บปวดน้อยที่สุด โดยไม่มีการบิดหรืองอของกระดูกสันหลัง รักษา alignment ให้มากที่สุด ปกติให้ผู้ป่วยนอนกระดานแข็งโดยบริเวณศีรษะและคออาจใช้ถุงทรายประคองไว้ หรือใส่ Philadelphia collar ไว้ (ถ้ามี) ส่วนบริเวณ อก ท้องและเข่า ควรรัดด้วยเทปยึดติดตัวกับไม้กระดาน เพื่อรักษาแนวโค้งของกระดูกให้เหมือนปกติและป้องกันการเคลื่อนที่ของกระดูกสันหลัง ในกรณีที่ไม่ได้รัดไว้กับกระดาน ควรเตือนผู้ป่วยไม่ให้ลุกนั่งหรือเคลื่อนย้ายตัวเอง
การดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่งขณะเดียวกันต้องระวังไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนโดยการใส่ hard collar ที่มีขนาดพอดีไม่หลวมหรือแน่นเกินไป ในการปฏิบัติอาจพบปัญหาว่าผู้บาดเจ็บมีหมวกนิรภัยติดอยู่ที่ศีรษะหรือผู้บาดเจ็บติดอยู่ในเบาะรถยนต์ กรณีนี้การป้องกันการเคลื่อนของกระดูกสันหลังขณะเข้าไปช่วยในที่เกิดเหตุ ถ้าติดอยู่ในเบาะ
4.การเคลื่อนย้าย (transportation) ต้องใช้คนช่วยอย่างน้อย 3 คน ในการเคลื่อนย้าย ให้ใช้วิธีการกลิ้งไปทั้งตัวแบบท่อนซุง (log roll) โดยการให้ศีรษะ คอ ไหล่ หลัง สะโพกและขาเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน เคลื่อนย้ายโดยการใช้ Spinal board เป็นวิธีการที่ดีที่สุด
การประเมิน
1.1ปวดตึงต้นคอ หรือความรู้สึกที่แขน ขาลดลง
1.2 ปวดหลังหรือปวดตามแนวกึ่งกลางหลัง จะปวดมากขึ้นถ้าร่างกายมีการเคลื่อนไหว เช่น ขยับตัว บางรายอาจบ่นรู้สึกเหมือนมีกระแสไฟฟ้าวิ่งตามลาตัวและแขนขา
การซักประวัติ ผู้บาดเจ็บทุกรายให้สงสัยไว้ก่อนว่ามีบาดเจ็บของกระดูกคอจึงต้องป้องกันโดยใส่ Philadelphia collar ไว้ทุกรายจนกว่าจะวินิจฉัยได้ว่าไม่มีบาดเจ็บแล้วจึงถอดออก นอกจากนี้หลังอุบัติเหตุถ้าผู้ป่วยมีประวัติต่อไปนี้ให้สงสัยว่าน่าจะมีบาดเจ็บไขสันหลัง
การดูแลและการรักษา
ป้องกันไม่ให้กระดูกสันหลังเคลื่อนโดยการใส่ hard collar พลิกตัวแบบ log rolling
ติดตามสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะ Shock (Neurogenic shock or Spinal shock)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากจุดเกิดเหตุมายังโรงพยาบาล มีความสาคัญอย่างมาก
ใส่สายสวนปัสสาวะ
การผ่าตัด (Surgery) เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้กระดูกสันหลังที่หักหรือแตกไปทับเส้นประสาทสันหลังซึ่งเช่น การผ่าตัดในระดับคออาจเป็น การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลัง บริเวณคอซึ่งสามารถเข้าทางด้านหน้าได้ (anterior cervical discectomy fusion: ACDF) หรืออาจเป็นการผ่าตัดที่เข้าทางด้านหลัง เช่น posterior fusion, laminectomy
การจัดให้กระดูกอยู่นิ่ง (Immobilization) ขึ้นอยู่กับระดับของไขสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ เช่น การใส่อุปกรณ์พยุงคอ การจัดให้นอนบนแผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว (long spinal board) การใส่เครื่องดึงกระดูกคอ (Gardner Wells tongs, Crutchfield tongs) หรือใส่ halo vest ดังได้กล่าวมาแล้
กิจกรรมการพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลความสะอาดด้านร่างกายรวมถึงการดูแลทาความสะอาดช่องปาก
ตรวจสอบยา และเวชภัณฑ์ที่ต้องใช้กับผู้ป่วยในห้องผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพ motor power, neurological status และลงบันทึก
ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสาร เช่น ลงนามยินยอมผ่าตัด ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ
ผลการตรวจพิเศษ เป็นต้น
ให้ผู้ป่วยปัสสาวะก่อนไปห้องผ่าตัด
กรณีผู้ป่วยมีปัญหาระบบทางเดินหายใจควรดูดเสมหะให้โล่งอีกครั้งก่อนย้ายผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
ดูแลให้สารน้าและยา (pre-medication) ตามแผนการรักษาและลงบันทึก
ตรวจสอบชื่อ-สกุลพร้อม ป้ายข้อมือ เลขที่ผู้ป่วยนอก ให้ตรงกับใบรับผู้ป่วยจากห้องผ่าตัด
วันแรกหลังผ่าตัดสาหรับพยาบาลในหอผู้ป่วยoperation;day0
1.วัดและบันทึกสัญญาณชีพMotorpowerและneurologicalstatusทุก15นาที4ครั้งทุก30นาที2ครั้งและทุก1ชั่วโมงจนกว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติ
2.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งให้ได้รับออกชิเจนอย่างเพียงพอ(keepo2sat>95%)กรณีผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจดูแลให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ระบบประสาท (Nervous System)เป็นศูนย์กลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้า โดยทาหน้าที่ประสานสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ การทางานของต่อมและระบบต่าง ๆ ในร่างกาย อีกทั้งเป็นศูนย์ของความรู้สึกนึกคิดสติปัญญา การเรียนรู้ ความจา ตลอดจนการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ฝีในสมอง (Brain abscess)
สามารถทาให้เสียชีวิตได้ โรคนี้เกิดจากการติดเชื้อในบริเวณอื่นของร่างกายหรือในอวัยวะใกล้เคียงแล้วมีการแพร่กระจายมายังสมอง
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลางชนิดหนึ่งที่พบไม่มาก แต่จัดว่าเป็นการติดเชื้อที่รุนแรง
สาเหตุl
การติดเชื้อจากอวัยวะข้างเคียง ที่พบบ่อย ได้แก่ การติดเชื้อในช่องหู (otitis media,mastoiditis) นอกจากนี้อาจเกิดจากการติดเชื้อในโพรงไซนัส หรือช่องปาก (sinusitis, odontogenicinfection) เป็นต้น
อุบัติเหตุ มีแผลที่หนังศีรษะ ร่วมกับกะโหลกศีรษะแตก (compound depressed skull fracture) หรือ มีฐานกะโหลกร้าวเกิดรูรั่วของน้าหล่อเลี้ยงสมอง (Cerebrospinal fuid, CSF) หรือการผ่าตัด เมื่อเชื้อโรคเยื่อหุ้มสมอง
เกิดจากการติดเชื้อส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียนอกจากนี้ยังพบ เชื้อปรสิต หรือเชื้อรา
อาการ
มีไข้
พบอาการทางระบบประสาทแบบเฉพาะที่ตามตาแหน่งที่มีฝี เช่น ชา หรือแขนขา อ่อนแรง
อาการของโรคมีทั้งแบบค่อยไป จนถึงฉับพลัน หรือเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว โดยทั่วไปมักจะแสดงอาการภายใน 2-6สัปดาห์ อาการของโรคขึ้นกับตาแหน่ง ขนาด และจาานวนของฝีในสมอง
การดูแล
ประเมินสัญญาณชีพ หากมีไข้ ความดันโลหิตสูงสูง โดยเฉพาะ Pulse pressure มากกว่า 60 mmHg. ให้แจ้งพยาบาลทันที
ประเมินอาการปวดศีรษะ อาเจียนพุ้ง
ประเมินระดับความรู้สึกตัวและ Glasgow coma score
ประเมินอาการชัก ชา แขนขาอ่อนแรง
ดูแลจัดท่านอนศีรษะสูง 30องศา เพื่อให้เลือดไหลเวียน ไป-กลับจากสมองดีขึ้น ช่วยลดระดับความดันในกะโหลกศีรษะ
สังเกตอาการชัก หากมีอาการดังกล่าวให้รีบแจ้งพยาบาลทันที
อาการปวดศีรษะ โครงสร้างภายในโพรงกะโหลกศีรษะที่ไวต่อความเจ็บปวด
ได้แก่ หลอดเลือดแดงมิดเดิลมีนิงเจียลและแขนง หลอดเลือดแดงใหญ่ที่ฐานของสมอง วีนัสไซนัส (venous sinus) หลอดเลือดดาบริดจิ้ง ประสาทสมองคู่ที่ 5, 9, 10ประสาทไขสันหลังส่วนคอ คู่ที่ 1, 2, 3และเยื่อดูราที่ฐานของกะโหลกศีรษะ
การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (M= Motor response)
6 คะแนน เคลื่อนไหวได้ตามคาสั่ง
5คะแนน ทราบตาแหน่งที่เจ็บ
4คะแนน ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ
3คะแนน เกร็ง แขนงอเข้า ขาเหยียด เมื่อเจ็บ
2คะแนน เกร็ง แขนเหยียด ขาเหยียด เมื่อเจ็บ
1คะแนน ไม่เคลื่อนไหวเลย
ความหมายศีรษะบาดเจ็บ (Headinjury)
Head injury หมายถึง การบาดเจ็บของส่วนต่าง ๆ ของ ศีรษะ เช่น หนังศรีษะ กะโหลกศีรษะ เยื่อหุ้มสมอง เป็นต้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือหลายส่วนรวมกัน
การบาดเจ็บที่ศีรษะอาจจะไม่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการทางาน หรือพยาธิสภาพในสมอง และในทางตรงข้ามกัน เมื่อมีพยาธิสภาพในสมองอาจจะไม่มีพยาธิสภาพที่ศีรษะก็ได้ เช่น มีเลือดออกในเนื้อสมอง แต่ไม่มีบาดแผลที่ศรีษะภายนอก
สาเหตุ
ถูกทาร้ายร่างกาย
พลัดตก/หกล้ม
อุบัติเหตุทางจราจร
เล่นกีฬา
Traumatic brain injury หมายถึง การบาดเจ็บที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางาน หรือพยาธิสภาพในสมอง
GuillanBarreSyndrome
กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร Guillain–Barrésyndrome) เป็นโรคแพ้ภูมิตัวเอง (autoimmune disorder) อย่างหนึ่งซึ่งเกิดกับระบบประสาทส่วนปลาย ส่วนใหญ่ถูกกระตุ้นโดยการอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน
สาเหตุGuillain-Barrésyndrome (GBS) เป็นโรคที่มีการอักเสบของ ปลอกหุ้มของเส้นประสาทหลายเส้นอย่างเฉียบพลัน acute inflammatory demyelinating polyneuropathy (AIDP)
อาการ
กลุ่มอาการมิลเลอร์ ฟิเชอร์ (Miller Fisher Syndrome: MFS) กลุ่มอาการ GBS ชนิดนี้พบบ่อยในชาวเอเชีย ผู้ป่วยจะเกิดอัมพาตบริเวณดวงตาเป็นอันดับแรก
Acute Motor-Sensory Axonal Neuropathy: AMSAN และ Acute Motor Axonal Neuropathy: AMAN เป็นชนิดที่มักพบในคนจีน ญี่ปุ่น และเม็กซิกันเป็นหลัก
Acute Inflammatory Demyelinating Polyradiculoneuropathy: AIDP เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด อาการทั่วไปคือกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการของกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
กลุ่มอาการ GBS ในระยะแรกมักเริ่มจากมีอาการเหน็บชา ตามส่วนล่างของร่างกาย เช่น หัวแม่เท้า เท้า และขา แล้วค่อย ๆ ลุกลามไปยังแขนและนิ้วมือ จากนั้นจึงเริ่มมีอาการอื่น ๆ ที่อาจสังเกตได้
กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยมักเกิดขึ้นกับอวัยวะส่วนล่างของร่างกาย เช่น บริเวณเท้าหรือขา แล้วลุกลามขึ้นไปยังส่วนบนของร่างกาย
ปัญหาของผู้ป่วย
การแลกเปลี่ยนอากาศบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง และอาจเป็นไปได้ที่จะสาลัก
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง และความคงทนต่อกิจกรรมต่างๆ ลดลง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงและล้าง่าย
ไม่สามารถทาให้ทางเดินหายใจโล่ง หรือหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การรับความรู้สึกและการรับรู้การมองเห็นลดลง เนื่องจากกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง หนังตาตก มองเห็นภาพซ้อน
การติดต่อสื่อสารทางภาษาบกพร่องเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ได้รับอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจากเคี้ยวลาบาก กลืนลาบากและระบบทางเดินอาหารทางานบกพร่อง
การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ (Scalp injury)
การประเมินและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2.ระยะรักษาตัวในโรงพยาบาล(Hospitalphase)
หลักการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง/ไขสันหลังเมื่อมาถึงโรงพยาบาลแบ่งออกเป็น4ขั้นตอนดังนี้
แบ่งออกเป็น4ขั้นตอนดังนี้
เป็นการประเมินทางเดินหายใจส่วนบนร่วมกับการปกป้องกระดูกคอ โดยประเมินตั้งแต่ปาก จมูก ลาคอกล่องเสียงและหลอดลมพร้อมทั้งทาการแก้ไขให้ทางเดินหายใจโล่ง โดยในขณะจัดการเรื่องทางเดินหายใจ ต้องระวังกระดูกต้นคอเคลื่อ
B: Breathing and ventilation
เป็นการประเมินและดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนที่เพียงพอโดยประเมินจากอัตราและรูปแบบการหายใจการวัดออกซิเจนปลายนิ้วการฟังเสียงลมเข้าปอดการเคลื่อนไหวของทรวงอกพร้อมกับให้O2cannulaหรือO2maskwithbag
2.1Primarysurveyเป็นการประเมินความผิดปกติที่เป็นอันตรายเร่งด่วนและคุกคามต่อชีวิตซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการประเมิน
C: Circulation and hemorrhage control
1.ระยะก่อนถึงโรงพยาบาล(Pre-hospitalphase)
เป็นการช่วยเหลือณจุดเกิดเหตุการเคลื่อนย้ายและส่งต่อไปยังโรงพยาบาลการดูแลที่สาคัญได้แก่การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการดูแลระบบทางเดินหายใจ
การประเมินระบบประสาท
หนังศีรษะเป็นชั้นหนึ่งที่ช่วยปกป้อง และลดอันตรายแก่กะโหลกศีรษะ พยาธิสภาพที่เกิดต่อหนังศีรษะมักไม่ก่อให้เกิดความพิการทางสมอง ยกเว้นในกรณีที่เสียเลือดมาก การบาดเจ็บทาให้หนังหุ้มศีรษะฟกช้า (Contusion) เขียว บวม โน หนังศีรษะถลอก (Scalp abrasion) หนังศีรษะฉีกขาด (Laceration) และหนังศีรษะถลก (scalp avulsion)
Myasthenia Gravis
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Myasthenia Gravis; MG) เป็นโรคภูมิคุ้มกันผิดปกติไปทาลายตัวรับสัญญาณประสาทที่อยู่บนกล้ามเนื้อของตัวเองทาให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง เนื่องจากไม่สามารถรับสัญญาณประสาทที่กระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดตัวได้ หากกล้ามเนื้อเปลือกตาอ่อนแรงจะทาให้เกิดหนังตาตก หากกล้ามเนื้อตาที่ช่วยในการกลอกตาผิดปกติจะทาให้ผู้ป่วยมองเห็นภาพซ้อน อาการหนังตาตกและเห็นภาพซ้อนจะรุนแรงไม่เท่ากันในระหว่างวัน อาการจะแย่ลงในตอนเย็นหรือเมื่อผู้ป่วยอ่อนเพลีย
สาเหตุ
ห้องปฏิบัติการ
สาเหตุที่ทาให้เกิดการแพ้ตนเองนี้ยังไม่ทราบ แต่มีหลักฐานสนับสนุนทฤษฎีอิมมูน โดยใช้อาการและข้อมูลทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
ความดันในกะโหลกศีรษะ(Intracranial pressure) หมายถึง ความดันภายในช่องกะโหลกศีรษะเทียบกับความดันในชั้นบรรยากาศซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงตามจังหวะการเต้นของหัวใจ และการหายใจ ปกติเท่ากับ 5-15
อาการ
การเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง จะทาให้
มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวได้จาก เมื่อความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูงถึงความดันไดแอสโตลิคหลอดเลือดฝอย ในสมองจะถูกกดทาให้สมองขาดออกซิเจนเซลล์สมองไวต่อการขาดออกซิเจนมาก ผู้ป่วยจะเริ่มสับสน ง่วงซึม
กระสับ กระส่าย มีความลาบากในการใช้ความคิด หลงลืม มีการรับรู้ที่ผิดไป (disorientation) เริ่มจากกาลเวลาก่อน ต่อมาสถานที่ และบุคคล เมื่อความดันเพิ่มขึ้นผู้ป่วยจะอยู่ในระยะสตูเปอร์ (stupor) และโคม่า ในระยะสุดท้ายจะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด และอยู่ในระยะโคม่าลึก
อาการและอาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูงทั่ว ๆ ไป ได้แก่
การเปลี่ยนแปลงของรูม่านตา
รูปร่าง และปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสงของรูม่านตา โดยเริ่มจากข้างที่มีพยาธิสภาพก่อน ในระยะแรกรูม่านตามีขนาดเล็ก หรือมีเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นครึ่งหนึ่งของไอริส (iris) ซึ่งเรียกว่า มิดโพซิซั่น (midposition) และจะขยายโตขึ้น
รูปไข่ (oviodshape) ตอบสนองต่อแสงช้า การตอบสนองแบบฮิปปัส (hippus) คือ รูม่านตาขยายโตขึ้น แต่ยังหดตัวได้ จะพบได้เมื่อประสาทสมองคู่ที่ 3 เริ่มถูกกด ในระยะท้าย (later stage) ของการมีความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง รูม่านตาของสมองข้างที่มีพยาธิสภาพจะขยายโตเต็มที่และไม่ตอบสนองต่อแสงทั้งสองข้าง
การเกิดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูงอาจเกิดจากสิ่งกินที่ในสมองส่วนเหนือเทนทอเรียม หรือสมองบวมน้า ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงขนาด
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
หมายถึง
ภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อที่อยู่รอบสมองและไขสันหลังซึ่งเรียกรวมว่าเยื่อหุ้มสมอง การอักเสบนี้อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือจุลชีพอื่น ๆ
อาการ
สับสนหรือซึมลง
อาเจียน
อาการปวดศีรษะ
คอแข็งเกร็งพร้อมกับมีไข้
หากมีผื่นร่วมด้วยอาจบ่งชี้ถึงสาเหตุเฉพาะบางอย่างของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เช่น เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเมนิงโกคอคคัส ซึ่งมีผื่นที่มีลักษณะเฉพาะ
การอาเจียน การอาเจียนจากการมีความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ มักจะพบในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพในชั้นใต้เทนทอเรียม หรือการกดโดยตรงต่อศูนย์ควบคุมการอาเจียนซึ่งอยู่ในเมดัลลา รีเฟล็กซ์ของการเกิดยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่อาจอธิบายได้จากรีเฟล็กซ์ของกระเพาะอาหารและลาไส้ (gastrointestinal reflex) ซึ่งมีใยประสาทส่งออก (efferent fiber) บางส่วนเชื่อมต่อกับกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ เมื่อศูนย์ควบคุมการอาเจียนถูกกระตุ้น โดยพยาธิสภาพในสมอง
การเปลี่ยนแปลงการหายใจ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการหายใจ จะสัมพันธ์กับระดับการเสียหน้าที่ของการทางานของสมอง
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ อุณหภูมิจะสูงขึ้นเมื่อไฮโปทาลามัสถูกรบกวนในระยะแรกอุณหภูมิอาจเป็นปกติ แต่ในระยะท้ายอุณหภูมิจะสูงขึ้นมาก การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอาจเกิดจากการติดเชื้อระบบใดระบบหนึ่งของร่างกาย แต่อุณหภูมิจะไม่สูงมากเท่ากับการรบกวนต่อไฮโปทาลามัส
ปัจจัยที่ส่งเสริม
2.การจัดท่านอนไม่เหมาะสม เช่น คอพับ ก้มคอ หรือแหงนคอมากเกินไป นอนราบ ศีรษะสูงมากเกินไป งอสะโพกเกิน 90องศาเนื่องจากเพิ่มความดันในช่องท้อง และทรวงอก
3.กิจกรรมต่าง ๆ เช่น ไอ จาม เบ่งถ่ายอุจจาระ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแรงต้านจากการผูกมัด
1.การหายใจไม่เพียงพอ ทาให้คาร์บอนไดออกไซด์คั่งในกะแสเลือด ทาให้หลอดเลือดขยายตัวทาให้เลือดดาไหลเวียนกลับลดลง สมองบวมมากขึ้น ทาให้ปริมาตรของเนื้อสมองเพิ่มขึ้น
4.ภาวะน้าเกิน หรือ Electrolyte imbalance ส่งผลให้เกิดภาวะสมองบวม
การรักษา
2.Loop diuretic เช่น Furosemide
3.Steroid
Osmotic diuretics เช่น ให้ 20% Manital
4.ยาลดความดันโลหิต
5.ยากันชัก เช่น Phenytoin (Dilantin)
6.Barbiturate ลดการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
7.ให้ออกซิเจนให้เพียงพอ
8.รักษาสิ่งกินที่ในสมอง เช่น ผ่าตัดเอาก้อนเลือดออก
9.ลดความดัน Ventricular drainage
การดูแล
2.การจัดท่านอน 30องศา คอตรง ข้อสะโพกไม่งอเกิน 90องศา
3.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
1.ประเมินอาการ และอาการแสดงของระบบประสาท
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาให้เพียงพอ
5.ให้การพยาบาลหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทาให้เกิด Vassal maneuver เช่น ท้องผูก ไอ จาม
6.ดูแลในการควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ เช่น มีไข้ให้ดูแลเช็ดตัวลดไข้
7.ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิต และยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
8.ประเมินสัญาณชีพ
ภาวะแทรกซ้อน
24 ชม แรก
1.ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
3.เลือดออก และอาจทาให้ช็อค
2.สมองเคลื่อน
การพยาบาล Ventriculostomy
2.1 การกาหนดต้าแหน่งศูนย์อ้างอิง “0” หรือ Zero point ให้ตรงกับกึ่งกลางรูหู (External
auditory canal) ในท่านอนหงาย
2.2 การตั้งระดับความดันตามที่แพทย์ก้าหนด โดยวัดจากกึ่งกลางรูหูวัดระยะทางหน่วยเป็น
เซนติเมตรขึ้นไปในแนวดิ่งจนถึงจุดหยดของสายระบายน้าสายระบายไขสันหลัง ถือเป็นความดันสูงสุด
ขณะนั้น และติดป้ายหัวเตียงว่าเป็น Ventriculostomyตั้งระดับความดันกี่เซนติเมตร
1.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา หรือ ตามแผนการรักษา
สังเกตระดับน้าไขสันหลังในสาย EVDมีการเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับการหายใจหรือไม่ ถ้าระดับน้า
ไขสันหลังในสายหยุดนิ่ง ไม่เคลื่อนขึ้นลง
Clamp EVD เมื่อมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หรือปรับระดับเตียงขึ้นลง และห้าม Clamp EVDนานเกิน 30 นาที และคลาย Clamp ทันทีเมื่อผู้ป่วยกลับมาที่เตียง ตรวจสอบระบบชุด EVD ว่าตั้งถูกตาแหน่งและไม่ถูก Clamp ไว้
การพยาบาลผ่าตัด
จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา โดยให้คออยู่ในแนวตรง ไม่บิด ซึ่งจะช่วยป้องกันการอุดตันของjugular vein ส่งผลให้เลือดดาไหลกลับหัวใจได้ดีขึ้นเพิ่มการหายใจเพื่อลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (hyperventilation) โดยอธิบายครอบครัวให้เข้าใจเหตุผลและร่วมดูแลในการจัดท่านอนให้ผู้ป่วย
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาเพื่อลดภาวะสมองบวม เช่น mannital, diuretic หรือ steroidและ
ติดตามสังเกตอาการข้างเคียงจากการได้รับยาดังกล่าว
ประเมินสภาพผู้ป่วย อาการและอาการแสดงทางระบบประสาท ตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
สมอง ให้ข้อมูลแก่ครอบครัวเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
4.เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของ IICP การไหลเวียนของน้าไขสันหลัง การไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองรวมถึงภาวะสมองบวมช้า หรือการมีน้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง โดยประเมินจาก
อาการและอาการแสดง ค่าความดันกาซาบเนื้อเยื่อสมองหรือจาก ICP monitoring
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยรักษาระดับ PaCO2 ให้อยู่ในช่วง 35-45 มิลลิเมตรปรอท ดูแลอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในระดับปกติไม่ให้มีไข้โดยรักษาอุณหภูมิให้ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส และเฝ้าระวังการเกิดการบาดเจ็บที่สมองระยะที่สอง
ดูแลด้านโภชนาการให้เหมาะสม โดยปรึกษาโภชนากรเพื่อกาหนดอาหารและดูแลให้ได้รับสารอาหาร
ตามแผนการรักษาอย่างเพียงพอ เพื่อรักษาภาวะโภชนาการให้อยู่ในเกณฑ์ปกติการเริ่มให้สารอาหารโดยเร็วภายใน
5 วันแรก จะช่วยลดอัตราการติดเชื้อและภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
Hyperextension injuryเกิดจากหลายสาเหตุ พบบ่อยในผู้สูงอายุเนื่องจากการเสื่อมของกระดูก เช่น ตกบันได หกล้มคางกระแทกพื้น หรือขับรถแล้วถูกชนด้านหลังทาให้ศีรษะเคลื่อนไปชนกระจกรถเกิดแรงเหวี่ยงกลับศีรษะจึงแหงนไปด้านหลัง การบาดเจ็บชนิดนี้ทาให้มีการหักหรือหลุดของกระดูกสันหลังด้านหลัง และมีการฉีกขาดของ anteriotlongitudinal ligament มักพบที่กระดูกคอชิ้นที่ 4-5 (C4,C5) ทาให้มีปัญหาในการหายใจ
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลังเกิดทั้งจากที่ไม่มีแผลทะลุทะลวง(bluntinjury)และที่มีแผลทะลุทะลวง(penetratinginjury)เช่นจากการถูกยิงหรือถูกแทงถ้าแบ่งประเภทการบาดเจ็บตามกลไกการบาดเจ็บสามารถแบ่งได้
1.Flexioninjuryเกิดจากการใช้ความเร็วสูงและหยุดกระทันหันเช่นขับรถมาด้วยความเร็วสูงแล้วชนกาแพงและรถหยุดกระทันหันทาให้ศีรษะเคลื่อนไปข้างหน้าชนกระจกหน้ารถแล้วหยุดอยู่กับที่ไม่มีแรงเหวี่ยงกลับผู้ป่วยจะอยู่ในท่าก้มหน้าคางชิดอกบาดเจ็บชนิดนี้จะมีการเคลื่อนของ
ภาวะแทรกซ้อน
มากกว่า 72 ชม
1.ติดเชื้อ
2.สมองเคลื่อน
นางสาว อาภาภรณ์ สังข์ภักดี เลขที่ 74
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์เยาว์รัตน์ เอมโอฐ