Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
แนวคิดเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยน
แปลงผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้าน
สรีรวิทยาระบบต่างๆ
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
สารสื่อประสาท
มีการเปลี่ยนแปลง
Dopamine ลดลง
Norepinephrine ลดลง
ความสามรถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ช้าต้องใช้เวลา
ความจำเสื่อม
การนอนหลับเปลี่ยนแปลง หลับยากตื่นง่าย
มีการสะสม lipofuscin
ความไวและการตอบสนองช้าลง
เซลล์สมองและเซลล์ประสาทจำนวนลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ระบบความรู้สึก
การได้ยิน
หูชั้นใน เกิดภาวะหูตึง
หูชั้นกลาง แก้วหูยืดหยุ่นลดลง
หูชั้นนอก เกิดการสะสมของขี้หู
การรับรส ดมกลิ่น
การสัมผัส
แยกแยะรสอาหารได้ลดลง
ทานอาหารรสจัด
ความสามารถในการดมกลิ่นลดลง
การหลั่งน้ำลายลดลง
การมองเห็น
การมองเห็น สีแดง สีส้ม สีเหลือง
ดีกว่า สีน้ำเงิน สีม่วง และสีเขียว
รูม่านตาลดลง มองเห็นในที่มืดลดลง
เลนส์ตา ขุ่นหนาตัวขึ้น ความยืดหยุ่น
สะสมของไขมันรอบตาดำวงสีขาวๆ
Aarucs senilis ไม่มีผลต่อการมองเห็น
ไขมันรอบดวงตาและหนังตาลดลง
การเปลี่ยนแปลงระบบ
หัวใจและหลอดเลือด
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ความไวต่อสิ่งเร้าลดลง
ความดันภายในหลอดเลือดสูง
ลิ้นหัวใจมีแคลเซียมมาเกาะ ปิดเปิดได้ไม่ดี
ความดันโลหิตต่ำ ขณะเปลี่ยนท่า
ผนังหัวใจหนาตัวขึ้น
ความแรงในการบีบตัวลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ระบบทางเดินหายใจ
กระดูกสันหลังเปลี่ยนแปลง
กระดูกซี่โครงเคลื่อนไหวลดลง
ความยืดหยุ่นของปอดลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ระบบโครงร่าง
และกล้ามเนื้อ
มวลกล้ามเนื้อลดลง
การเคลื่อนไหวช้าลง
การเสื่อมของกระดูก
การเปลี่ยนแปลง
ระบบทางเดินอาหาร
กล้ามเนื้อหลอดอาหาร
และคอหอยอ่อนกำลังลง
หูรูดหลอดอาหารไม่ดี กรดไหลย้อน
กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหารบางลง
การย่อยและการ
หลั่งกรดลดลง
เยื่อบุผนังลำไส้เล็กบางลง
เสื่อมหน้าที่ การดูดซึมลดลง Vit D/Ca
การบีบตัวของลำไส้ใหญ่ลดลง ท้องผูก
การเปลี่ยนแปลง
ระบบผิวหนัง
เล็บแข็งและหนาขึ้น
การรับรู้ความรู้สึกลดลง
ต่อมเหงื่อขนาดลดลง
เซลล์สร้างเม็ดสีลดลง
เส้นใยอีลาสติน ความยืดหยุ่นไม่ดี
ผิวหนังบางลง
การเปลี่ยนแปลง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กล้ามเนื้อกระเพาะ
ปัสสาวะอ่อนกำลังลง
ขนาด ความจุลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ด้านจิตสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงสังคมครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงด้าน
พัฒนาการทางจิตในผู้สูงอายุ
การปรดเกษียณหรือการออกจากงาน
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ
ปัจจัย
ภายใน
กรรมพันธุ์ สุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
ประสบการณ์วีชิต
ความเชื่อและวัฒนธรรม
ปัจจัย
ภายนอก
การศึกษา เศรษฐานะ
การเกษียณการทำงาน
การจากไปของ
สมาชิกในครอบครัว
จริยธรรมในการ
ดูแลผู้สูงอายุ
เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความรู้สึกของผู้ดูแลที่เข้าใจ
เข้าใจในความจำกัดของผู้สูงอายุที่เกิดขึ้นตามวัย
มีความมั่นคงทางอารมณ์และยึดมั่นในความดีของผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่องในความมีศักดิ์ศรี
ความหมายและ
ประเภทของผู้สูงอายุ
แบ่งตาม
ช่วงอายุ
ช่วงแก่ปากลาง อายุประมาณ 70-79 ปี
ช่วงแก่จริง อายุประมาณ 80-90 ปี
ช่วงไม่ค่อยแก่ อายุประมาณ 60-69 ปี
ช่วงแก่จริงๆ อายุประมาณ 90 ปีขึ้นไป
การแบ่งประเภทผู้สูงอายุ
แบ่งตามความสามารถในการ
ดำเนินชีวิตและภาวะสุขภาพ
ผู้สูงอายุติดสังคม
คือผู้สูงอายุที่ยังสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ดี
ดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างอิสระไม่มีโรคเรื้อรัง
ผู้สูงอายุติดเตียง
ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเอง
ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันได้
ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการปฏิบัติกิจวัตร
ผู้สูงอายุติดบ้าน
ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างต้องการ
ความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพียงบางส่วน
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กับผู้สูงอายุ
การสูงวัยที่ยังประโยชน์ สะท้อนออกมาในรูปแบบของงานที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ การเป็นผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค
การสูงวัยที่ประสบความสำเร็จ
คือการคงสภาพความสามารถของร่างกายและสติปัญญาให้ยาวนาน
ภาวะพลัง ช่วยเสริมสร้างให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดี
บทบาทของผู้ช่วยพยาบาล
ต่อผู้สูงอายุและครอบครัว
เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุ
กลุ่มเริ่มมีปัญหา
สุขภาพผู้สูงอายุติดบ้าน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ภาวะทุพพลภาพ
ควบคุมโรค
เพิ่มศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง
กลุ่มป่วยเรื้อรัง/ระยะสุดท้าย
ผู้สูงอายุติดเตียง
ควบคุมอาการ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ลดทอนภาวะทุพพลภาพ
ประคับประคองอาการ
เสียชีวิตอย่างสงบสุข
กลุ่มสุขภาพดี
ติดสังคม
ส่งเสริมการทำประโยชน์ต่อสังคม
ส่งเสริมสุขภาพเพื่อชะลอ
ความเสื่อมจากความสูงอายุ
บทบาทพยาบาล ครอบครัว
สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ป้องกันภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
กระตุ้นให้สามารถช่วยตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
ฟื้นฟูสุขภาพโดยการกระตุ้น แก้ไข ให้คำแนะนำ
ส่งเสริมการดำรงไว้ซึ่งชีวิตบั้นปลายให้เป็นปกติมากที่สุด
ดำรงไว้ซึ่งการดำเนินชีวิตตามปกติ แม้ในยามเจ็บป่วย
ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพดีด้านร่างกาย จิตสังคม จิตวิญญาณ
บทบาทของพยาบาลผู้สูงอายุ
เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างมีคุณค่าคอยสนับสนุน
และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ช่วยเหลือตนเอง
คุณสมบัติของ
พยาบาลผู้สูงอายุ
มีความสามารถในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ
มีความสามารถในการสอนผู้สูงอายุและครอบครัว
มีการสังเกต สามารถแปลความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุได้
มีความรู้ด้านการพยาบาลผู้สูงอายุ/ มีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุ
มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุและต่อการพยาบาลผู้สูงอายุ