Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
(Dementia)
Cognitive impairment
Memory
ความจำ
Judgment
การตัดสินใจ
Imagining
จินตนาการ
Thinking
ความคิด
การวินิจฉัย
พูดไม่ถูก ( aphasia)
ทำไม่เป็น ( apraxia)
ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง (agnosia)
ความบกพร่องในเรื่องการบริหารจัดการ(disturbance in executive functioning)
สาเหตุ
Degenerative change
Vascular dementia
Infections
Trauma
Neoplasm
Vitamin deficiency
Endocrine/Metabolic
Normal pressure
hydrocephalus
Toxins
Vasculitis
ประเภทของสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ บาง
โรครักษาได้ บางโรครักษาไม่ได้
สมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมของเซลส์สมอง(Degenerative dementia) เช่น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's Disease)
สมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือด
ในสมอง (Vascular dementia)
อาการสมองเสื่อมจะเกิดขึ้นหลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้สมองส่วนนั้น เสื่อมหน้าที่ สาเหตุหลักของโรคนี้
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
ภาวะไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
Alzheimer's disease
อาการทั่วไปที่มักจะพบ
ในผู้ป่วยอัลไซเมอร์
ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลงสับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง ซึมเศร้าเฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน
ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
สมองเสื่อมที่สามารถรักษา
ให้หายได้
โรคสมองเสื่อมที่เกิดจากเนื้องอกในสมอง ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ โรคติดเชื้อในสมองบางชนิด การขาดสารอาหารโดยเฉพาะวิตามินบี อุบัติเหตุที่ศีรษะ หรือการได้รับยาบางอย่าง
การใช้ยากล่อมประสาทเป็นประจำ เป็นต้น
การวินิจฉัยแยกโรคจากภาวะอื่น
ภาวะหลงลืมตามอายุ
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
โรคซึมเศร้า
การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การให้ผู้ป่วยคงความสามารถ
ไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด) ประกอบด้วย
ความจำ
ความสามารถสมอง
กิจวัตรประจำวัน
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
กิจวัตรประจำวัน
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
Multiple sclerosis
เป็นโรคที่มีการทำลายปลอกหุ้มเส้นประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง ดังนั้นรอยโรคจะอยู่ที่ white matter ในระบบประสาทส่วนกลาง
เส้นประสาทตา (optic nerve), สมองใหญ่ (cerebrum), สมองน้อย(cerebellum), ก้านสมอง (brainstem) และไขสันหลัง (spinal cord)
พบมากในคนผิวขาว, คนอายุน้อย, หญิงมากกว่าผู้ชาย
รอยโรคมักเป็นหลายๆตำแหน่งในระบบประสาทส่วนกลาง: เส้นประสาทตา (optic neuritis),ไขสันหลัง(acute myelitis)
อาการมักเป็นกำเริบสลับทุเลา แต่ถ้าเป็นซ้ำๆ หลายๆครั้งก็มักจะเหลือความพิการถาวรได้ (remitting relapsing)
ลักษณะอาการทางคลินิก
อายุ: พบมากสุดในช่วง ๒๐-๔๐ ปี : หญิงมากกว่าชาย
อาการ
Relapsing remitting: อาการทางระบบประสาทที่เป็นเร็ว แล้วไม่กี่วันก็มีอาการดีขึ้นใกล้เคียงปกติ แล้วกลับเป็นซ้ำ
Progressive: อาการทางระบบประสาทค่อยเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ ช้า ๆ ใช้เวลานานเป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน
นับว่าโรคกำเริบเมื่อ...อาการนั้นเป็นนานมากกว่า ๒๔ ชั่วโมง และอาการนั้นต้องห่างจากครั้งก่อนประสาท ๑ เดือน
อาการอื่นๆ
เวียนศีรษะ
Painful tonic spasm
Intractable hiccup
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิตประสาท เช่น ซึมเศร้า, สมองเสื่อม
Sensory system:
การรับความรู้สึกลดลง (hypoesthesia), ชา(numbness).
การรับความรู้สึกที่ข้อต่อว่าอยู่ที่ตำแหน่งใดลดลง (joint position sense): อาจมาด้วยเดินเซโดยเฉพาะเมื่อให้ยืน แล้วหลับตาลง จะเซมากขึ้น
การรับรู้ความรู้สึกเปลี่ยนไป (paresthesia): ชา (numbness), รู้สึกเหมือนมีอะไรมารัดตามตัว (band-like) หรือมีอาการปวดเสียว ทั้งหมดจัดเป็น neuropathic pain
Vision: การมองเห็น
ตามัว (visual loss): เป็นอาการแรกๆ ของโรคที่พบบ่อย, ตามัวมักจะมัวมากที่บริเวณกลางภาพก่อน ถ้าเป็นมากตาจะบอดได้ ร่วมกับบางครั้งจะเจ็บเมื่อกลอกตา เกิดจากเส้นประสาทตาอักเสบ (optic neuritis)
ตากระตุก (nystagmus)
การกลอกตาผิดปกติ: ผู้ป่วยจะมองเห็นภาพซ้อน
รูม่านตาผิดปกติ (pupillary abnormality): RAPD, pupil dilatation with non-reactive to light.
Pakinson's disease
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
โรคพาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของสมอง เนื่องจากเซลล์สมองบริเวณส่วนลึกเบซอลแกงเกลีย และก้านสมองมิดเบรนในส่วนสับสแตนเชียไนกรามีความผิดปกติอย่างช้า ๆ ซึ่งเซลล์เหล่านี้มีส่วนในการสร้างสารสื่อประสาทที่ชื่อว่าโดพามีนซึ่งช่วยควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันจึงมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวผิดปกติซึ่งเป็นอาการที่สำคัญของโรค
อาการของโรคพาร์กินสัน
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง(Rigidity) ของกล้ามเนื้อแขนขาและลำตัว เมื่อผู้อื่นมาจับแขนหรือขาของผู้ป่วยโยกเข้าออกหรือขึ้นลงตามข้อมือหรือข้อศอก จะรู้สึกเหมือนมีแรงต้านหรือสะดุดเป็นจังหวะ ๆ คล้ายการเคลื่อนของฟันเฟือง (Cogwheel rigidity) เกิดขึ้น
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง (Bradykinesia)
การเคลื่อนไหวของใบหน้าลดลง ผู้ป่วยจะมีใบหน้าแบบเฉยเมยไม่มีอารมณ์ ไม่ยิ้มหัวเราะ เหมือนคนใส่หน้ากาก(mask face)
มีอาการพูดเสียงเครือ ๆ เบา ฟังไม่ชัด น้ำเสียงจะราบเรียบในระดับเดียวกัน ไม่มีเสียงสูงหรือต่ำ อาจมีอาการกลืนลำบากร่วมด้วย
การเคลื่อนไหวของลำตัวและขาช้าลงก้าวขาสั้น ๆ แบบซอยเท้าในช่วงแรก ๆ และต่อมาจะก้าวยาวขึ้นเรื่อย ๆ จนเร็วมากและหยุดทันทีทันใดไม่ได้หลังค่อม ตัวงอ และแขนไม่แกว่ง มือจะแนบชิดตัว หรือเดินแข็งทื่อคล้ายหุ่นยนต์นอกจากนี้อาการของ Bradykinesia ยังรวมถึงอาการที่ผู้ป่วยรู้สึกอ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรงด้วย
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก (Resting tremor) ส่วนใหญ่จะเกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน (มีอาการสั่นของนิ้วมือในลักษณะที่เรียกว่า “Pill-rolling”) อาการสั่นของโรคนี้จะมีลักษณะเฉพาะ คือ จะมีอาการสั่นมากเวลาที่อยู่นิ่ง ๆ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain stimulation
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นสมอง
-การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิตสารโดพามีนได้ (Neurotransplantation)
การดูแล
กิจวัตรประจำวัน
อุบัติเหตุ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในแต่ละระยะ
Guillian- Barre Syndrome
Myelin sheath
Myelin เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ช่วยในการนำกระแสประสาททั้งในระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย myelin ในระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) และระบบประสาทส่วนปลาย (PNS)
Myelin ทำหน้าที่เป็นฉนวนรอบ axon ระหว่างตำแหน่งที่เกิดการนำกระแสประสาท คือ ระหว่าง node of Ranvier ทำให้การนำกระแสประสาทที่เกิดขึ้นเป็นแบบรวดเร็ว
ภาวะแพ้ภูมิตัวเอง (Autoimmune disorder)
ถูกกระตุ้นจากการอักเสบติดเชื้อ
มีอัมพาตของเซลล์ประสาทการเคลื่อนไหว (Motor neuron) ทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบปวกเปียก ( Flaccidity )
อาการอ่อนแรงแบบเป็นจากส่วนปลายมาต้น (Ascending paralysis)
อ่อนแรงจากขาค่อยๆ ลุกลามขึ้นมาแขร่น ใบหน้า ลำตัว มักมีอาการชาร่วมด้วย
ผลมาจากการอักเสบและมีการทำลายของปลอกหุ้มเซลล์ประสาท (Demyelination) ของระบบประสาทส่วนปลาย
มีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อช่วยการหายใจหรือมีภาวะแทรกซ้อนทางปอดรุนแรง เกิดภาวการณ์หายใจล้มเหลวได้
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) ซึ่งพบได้บ่อย คือ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 , 10 และ 3 ตามลำดับ
อ่อนแรงทั้งส่วนต้นและส่วนปลายของแขนและขา โดยอ่อนแรงมักไล่จากล่างขึ้นบน
มักอ่อนแรงขา🡪แขน หรือบางครั้งอ่อนแรงขาและแขนพร้อมกัน
อาจจะมีชาหรือรู้สึกมากกว่าปกติร่วมด้วย แต่มักไม่ใช่อาการเด่น
เส้นประสาทสมองอาจโดนร่วมด้วย เช่น เส้นประสาทใบหน้า
อาจจะมีกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงร่วมด้วยได้
สาเหตุ
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
โรคนอกระบบประสาท
การได้รับวัคซีน
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงมัก
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) ซึ่ง
พบได้บ่อย คือ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 , 10 และ 3 ตามลำดับ
อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
การวินิจฉัยแยกโรค
1.ลักษณะทางคลินิกที่เป็นลักษณะเด่นของ GBS คืออาการอ่อนแรงโดยเฉียบพลันอาการมักเริ่มจากขา ลุกลามมาแขนและลำตัว อาการอ่อนแรงจะเหมือนกันทั้ง 2 ข้าง ( Symmetrical ) การสูญเสียรีเฟล็กซ์มักพบว่ามีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหารนำมาก่อน 1 – 3 สัปดาห์
การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ โดยการนำน้ำไขสันหลังมาตรวจ จะพบโปรตีนในน้ำไขสันหลังมีระดับสูง
การตรวจการนำหระแสประสาท ( Nerve Conduction ) และการตรวจหาความผิดปกติของกล้ามเนื้อ ( Electromyography ) พบว่าความไวของการนำกระแสประสาทลดลง 60%
การรักษา
Plasmapheresis
Intravenous immunoglobulin ( IVIG )
Corticosteroid
การพยาบาล (Nursing care)
การพยาบาลระยะวิกฤตภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบการกลืน
ระบบการขับถ่าย
ภาวะแทรกซ้อน
Respiratory failure
Respiratory infection
ความพิการของร่างกายจากภาวะของโรค stiff jointและ muscle atrophy
Mulnutrition
Urinary tract infection
Pressure sore
Psychiatic problem
Myasthenia Gravis
Neuromuscular junction
Autoimmune disease
เพศหญิง>เพศชาย สูงอายุ
Thymomas
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
พบบ่อยสุดที่ช่วงอายุ 20-30 ปี ในเพศหญิง, 60-80 ปีในเพศชาย
อาการและอาการแสดง
fluctuating skeletal muscle weakness.
50% มาด้วยเห็นภาพซ้อน หรือหนังตาตก
15% มาด้วยอาการกลืนสำลัก เคี้ยวอาหารไม่ได้ หรือพูดเสียงเปลี่ยน
<5% อ่อนแรงต้นแขน หรือต้นขาอย่างเพียงอย่างเดียว
Pupil มักปกติ
การรักษา
ยา Mestinon
Thymectomy
การพยาบาล
การบริหารยา Mestinon
Peripheral neuropathy
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร (วิตามิน)
พิษของยา สารพิษ
โรคติดเชื้อ
เนื้องอกกดทับ
ภาวะถูกบีบรัดหรือการได้รับบาดเจ็บของเสันประสาท
กลุ่มเสี่ยง
อายุ 30 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ที่ทำงานพักผ่อนน้อย
ดื่มสุรา ดูดบุหรี่
ขาดวิตามิน บี 1,6,12,
อาการอักเสบของเส้นประสาทที่พบได้
-เส้นประสาทคู่ที่ 3,4หรือ 6 : เห็นภาพซ้อนแนวใดแนวหนึ่ง
-เส้นประสาทคู่ที่ 5 : ปวดเสียว ปวดแปร๊บๆบนใบหน้า คล้ายถูกไฟช๊อต มักมีอาการด้านใดด้านหนึ่ง
-เส้นประสาทคู่ที่ 7 : ใบหน้าเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีก ส่วนใหญ่เกิดจากติดเชื้อไวรัสช่วงที่ทำงานหนักพักผ่อนน้อย
-เส้นประสาทคู่ที่ 8 : สูญเสียการทรงตัว บ้านหมุน มีเสียงแว่วในหู หรือหูดับ
การดูแลรักษา
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ช่วยลดอาการชา อาการปวดได้เช่นการอาบน้ำอุ่น ควบคุมน้ำหนัก คุมระดับน้ำตาลในเลือด
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ป้องกันการขาดวิตามิน
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกาย
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด รับประทานและชนิดฉีด
ชนิดทา และนวด
การผ่าตัด
การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า
ทำกายภาพบำบัดเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ