Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางจิตเวช - Coggle Diagram
ทฤษฎีทางจิตเวช
ทฤษฎีทางชีวภาพทางการแพทย์ (Biological Theory)
เน้นในเรื่องการค้นหาสาเหตุของการเจ็บป่วยและการบำบัดด้านชีวภาพ
สาเหตุของความผิดปกติด้านพฤติกรรม
1.สารสื่อประสาท (neurotransmitter)
2.ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
3.พัฒนาการของเซลล์ประสาท
4.พันธุกรรม (Genetic Studies)
5.ฮอร์โมน
ปัจจัยด้านชีวภาพ
Dopamine
การเคลื่อนไหว เหตุผล อารมณ์
Norepinephine
อารมณ์ การตื่นตัว การควบคุมอุณหภูมิ อัตราการเต้นของหัวใจ (ระบบประสาทอัตโนมัติ)
Serotonin
อารมณ์(ความสุข) การรับความรู้สึก การตัดสินใจ ความอยากอาหาร การหลับ
Acetylcholine
ความจำ การเรียนรู้
GABA (Gammabutyric acid)
ลดความวิตกกังวล
Endorphine
ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หายเจ็บปวด อารมณ์เป็นสุข (โครงสร้างทางเคมีคล้ายฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน)
การบำบัดรักษาตามแนวคิดของทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
การผ่าตัดเพื่อลดอาการทางจิต ของผู้ที่มีอาการทางจิต รุนแรงและเรื้อรัง
การใช้ฮอร์โมนบำบัด
โภชนบำบัด
กระบวนการพยาบาล
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ใส่ใจต่อปัญหาสุขภาพ และความต้องการของผู้ป่วยที่มาจากสาเหตุทางด้านจิตสังคม
การรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การรักษา และการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การรักษา การผ่าตัด
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของซัลลิแวน
เชื่อว่า บุคลิกภาพระหว่างบุคคลเกิดจากสร้างสัมพันธภาพของบุคคล การเจ็บป่วยทางจิตเป็นผลมาจากการที่บุคคลไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นได้เหมาะสม
ระบบความเป็นตนเอง
Good me ฉันดี
Bad me ฉันเลว
Not me ไม่ใช่ฉัน
ประสบการณ์ในการมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในวัยเด็ก
ได้รับการยอมรับ
มองสิ่งแวดล้อมในแง่ดี
ไว้วางใจ trust
รู้สึกต่อตนเองทางบวก
ฉันดี good me
ไม่ได้รับการยอมรับ
มองสิ่งแวดล้อมในแง่ร้าย
ไม่ไว้วางใจ mistrust
รู้สึกต่อตนเองในทางลบ
ฉันเลว Bad me
ไม่ใช่ฉัน Not me
การปฏิบัติการพยาบาล
2.ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยโดยการสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
1.ให้การพยาบาลแบบองค์รวม
3.กระตุ้นสนับสนุนให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปื่น ให้มีความสัมพันธ์ในทางที่เหมาะสมถูกต้อง
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม และพฤติกรรมปัญญานิยม
แนวคิดของทฤษฎี
พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้จากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งเร้า
ผู้ป่วย คือ ผู้เรียนรู้ที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งแสดงออกทางพฤติกรรมโดยมีสิ่งเร้าที่เสริมแรงให้เกิดพฤติกรรม
การแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม คือ การแก้ไขเรียนรู้ใหม่เพื่อทดแทนด้วยพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสมกว่า
แนวคิดพื้นฐาน
กลุ่มพฤติกรรมนิยมเชื่อว่าองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้มี 4 ประการ
แรงขับ (Drive)
สิ่งเร้า (Stimulus)
การตอบสนอง (Response)
การเสริมแรง (Reinforcement)
แนวคิดพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditional Theory)
สิ่งเร้ากับธรรมชาติ + วางเงื่อนไข = ปฎิกิริยา พฤติกรรมสะท้อน
Pavlov : ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
นำสิ่งที่ไม่ชอบกับสิ่งที่ชอบไว้คู่กัน
ex. ขึ้นที่สูง นำสิ่งที่รู้สึกสบายใจมาควบคู่กับการบำบัดความกลัว
1.ก่อนการวางเงื่อนไข มีอาหารมาวางไว้ --- น้ำลายไหล สิ่งเร้ากลางคือ เสียงกระดิ่ง น้ำลายไม่ไหล
2.ขณะวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง + อาหาร = น้ำลายไหล
หลังการวางเงื่อนไข สุนัขได้ยินเสียงกระดิ่ง = น้ำลายไหล
ทฤษฎีวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
B.F.Skinner (1904-1990) การเรียนรู้ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทำ
เสริมแรงเพื่อให้พฤติกรรมคงอยู่
กระบวนการรักษา
การปรับพฤติกรรมเสียใหม่
พฤติกรรมถูกต้อง----ให้รางวัล
พฤติกรรมไม่ถูกต้อง----ไม่ให้รางวัล
กระตุ้นให้เิกดการปฎิบัติซ้ำจะได้กลายเป็นนิสัย
Joseph Wolpe
รักษาด้วยวิธีผ่อนคลาย จับคู่สิ่งที่ผ่อนคลายกับ anxiety
Skinner ใช้การเรียนรู้แบบ Operant Conditioning
1.แรงเสริมทางบวก
2.แรงเสริมทางลบ
3.การปรุงแต่งพฤติกรรม
แนวทางการพยาบาล
Token Economy ex.ใช้เงินแลกของได้
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Theory)
เป็นทฤษฎีซึ่งศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และเป้าหมายความสำคัญของความเป็นมนุษย์
1.ทฤษฎีอัตถิภาวะนิยม (Existential Theory)
ความเชื่อเบื้องต้น
1.เชื่อในความสำคัญของบุคคลแต่ละคน มากกว่าสังคม
2.มองมนุษย์อย่างบุคคลทั้งคนมากกว่าแยกมองส่วนต่างๆของมนุษย์
3.มนุษย์มีศักยภาพที่จะแก้ไขปัญหาของตนเองได้
4.เสรีภาพ คือ แก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ มีเสรีภาพในทางเลือกและตัดสินใจประกอบกิจกรรมในการดำเนินชีวิต
5.มนุษย์ต้องรับผิดชอบในการกระทำทุกอย่างของตน
6.ความตระหนักในตนเองจะช่วยให้มนุษย์สามารถตัดสินใจ และประกอบกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิต
7.มนุษย์จะพัฒนาความตระหนักในตนเองได้ จากการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
8.ความรู้ต่างๆจะเป็นเครื่องช่วยให้มนุษย์ เติบโตเลือกทำสิ่งที่ประสงค์
ผู้ป่วยจิตเวช
บุคคลที่ไม่สามารถตระหนักถึงความมีคุณค่า ความหมายของความเป็นอยุ่ในตนเอง บุคคลเหล่านี้จะไม่ยอมรับความเป็นไปของโลกและขาดความมุ่งมั่น ค้นหาเอกลักษณ์ของตนเองไม่พบ ไม่รับรู้สภาพความเป็นจริงของสิ่งแวดล้อมรอบตัว
บำบัดรักษาทางจิตเวช
การช่วยเหลือให้บุคคลได้กลับเข้าสู่สภาวะที่รู้จักตนเองและความมีอยู่ของตนเอง
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการค้นหาความหมายของชีวิตอันเป้นแรงผลักดันปฐมภูมิของชีวิต
ผู้ป่วยจะถูกกระตุ้นให้มีความรู้สึกว่าตนเองมีเสรีภาพ ศักดิ์ศรี และสามารถตัดสินใจเลือกพฤติกรรมได้
2.ทฤษฎีกลุ่มปรัชญามานุษยนิยม (Humanistic Philosophies)
ความเชื่อเบื้องต้น
1.จิตใจของมนุษยืไม่สามารถแยกออกจากร่างกายได้
2.มนุษย์มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาของตนเอง
3.เป้าหมายสูงสุดในชีวิต คือ ความสุข อิสระ การพัฒนา
มีความเชื่อในศาสตร์แห่งความสวยงามและศิลปะ สนับสนุนการนำเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้
คาร์ล โรเจอร์ (Roger's Self Theory)
ทฤษฎีตัวตน Self theory
1.ตนที่ตนมองเห็น(Self Concept)
2.ตนที่ตามเป็นจริง (คนอื่นเห็น)
3.ตนตามอุดมคติ เราต้องการ (Ideal self)
บุคคลที่เจ็บป่วย
การที่บุคคลเกิดความไม่สอดคล้องระหว่างความคิดกับสิ่งที่ปรากฎจริงในขณะนั้นความรู้สึกเขาถูกบิดเบือนไปจากความจริง
การบำบัดรักษาและบทบาทของพยาบาล
เป็น Partner ที่จะเดินเคียงข้างกันกับผู้บริการ(Client)ในการจัดการปัญหา
เป้าหมายของการรักษา
ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจ ตระหนัก และยอมรับปัญหาและความยุ่งยากใจของตน
กระบวนการรักษาเน้นที่ทัศนคติของผู้ให้การบำบัดต่อผู้รับการบริการ 3 ประการหลัก
Genuiness (ความจริงใจต่อตนเองและผู้รับบริการ)
Empathy (Empathic understanding) ความเห็นอกเห็นใจ
Unconditional positive regard (Acceptance and respect) การยอมรับผู้รับบริการโดยปราศจากเงื่อนไข
มาสโลว์ บันได 5 ขั้น
เชื่อว่า มนุษย์เกิดมาดีและพร้อมจะทำสิ่งที่ดี ถ้าได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐานเพียงพอ