Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมน (Hormone) เป็นสารเคมีที่สร้างจากเซลล์จำเพาะของต่อมไร้ท่อ อาจมีคุณสมบัติ เป็นกรด amino, protein, glycoprotein หรือ steroid ก็ได้ซึ่งเมื่อสร้างขึ้นแล้ว ก็จะถูกส่ง เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดทั่วร่างกาย
หน้าที่ของฮอร์โมน
1.ควบคุมการสืบพันธุ์ มีบทบาทตั้งแต่การสร้างเซลล์เพศ จนถึงการพัฒนาโครงสร้าง หน้าที่และพฤติกรรมของเพศหญิงและชาย ที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์
2.ควบคุมการเจริญเติบโต และพัฒนา เป็นการทำหน้าที่ร่วมกันของฮอณ์โมนหลายชนิด เช่น ฮฮร์โมนไทรอยด์ อินซูลิน ฮอร์โมนเร่งการเติบโต เป็นต้น รวมถึงการจำกัดการเจริญเติบโตด้วย
3.รักษาความสมดุล ของสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายโดยการควบคุมปริมาณและส่วนประกอบของของเหลวในร่างกาย ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ เป็นต้น
4.ควบคุมการสร้ง การใช้การสะสมพลังงาน ทำการเปลี่ยนแปลงสารอาหารต่างๆ ให้เป็นพลังงานหีือเก็บสะสมไว้ในรูปต่างๆ
-
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
1.การขาดฮอร์โมน หรือการสังเคราะห์ไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจากต่อมไร้ท่อถูกทำลายโดยการติดเชื้อสารรังสี การผ่าตัด ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือทางพันธุกรรมและขาดเลือดมาเลี้ยง
-
3.ความผิดปกติของตัวรับ เนื่องจากฮอร์โมนจับกับตัวรับอาจทำให้ฮอร์โมนออกฤทธิ์ต่อเซลล์เป้าหมายได้น้อยลงซึ่งมักมีผลย้อนกลับไปกระตุ้นต่อมไร้ท่อสร้างและหลั่งฮอร์โมนชนิดนั้น ออกมาในเลือดมากยิ่งขึ้น
ต่อมใต้สมอง
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
สร้างฮอร์โมนหลายชนิดออกไปควบคุมการทำงานของต่อมไร้ท่ออื่นๆให้สร้างฮอร์โมนไปออกฟทะิ์เฉพราะต่อเซลล์เป้าหมายทั่วร่างกาย
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหรืออะดีโนไฮโปไฟซีส เป็นฮอร์โมนพวกโปรดตีน ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน2ประเภท คือ
-
-
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
เจริยมาจากเนื้อเยื่อประสาท เป็นที่เก็บฮอร์โมนสองชนิดที่หลั่งจากของใยประสาทแอกซอน ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ตัวเซลล์อยู่ที่สอมงส่วนไฮโพมาลามัสฮอร์โมนจะเคลื่อนที่ตามเสินประสาทแอกซอนและเก็บมาไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลังเซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้น ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองคือ
วาโซเพรชซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน
3อวัยวะเป้าหมาย:ท่อหน่วยไตและหลอดเลือดแดง
-ทำหน้า:ที่กระตุ้นการดุดน้ำกลับเข้าสู่ท่อหน่วยไตเมื่อปริมาณน้ำในเลือดลดลงจึงควบคุมการเกิดน้ำปัสสาวะ
-ความผิดปกติ:ถ้าขาดจะเป็นโรคเบาจืด จะปัสสาวะบ่อยเนื่องจาก ท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อได้น้อย
ออกซิโทซิน
-อวัยวะเป้าหมาย:กล้ามเนื้อมดลุกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม -หน้าที่:กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้บีบหรือหดตัวเป็นระยะๆเพื่อให้ทารกคลอดกระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมทำให้มรกาารหลั่งน้ำนมเพื่อเลี้ยงทารก การดูดนมของทารกช่วย กระตุ้นให้มรการหลั่งออกซิโทซิน มากขึ้นทำให้กล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมมีการบีบตัวขับน้ำออกมามากขึ้น
ไฮโพทาลามัส
-
จะมีลักษณะเหมือนเซลล์ประสาททั่วไป คือ มีเซลล์บอดี เดนไดรต์แอกซอน และส่งเส้นใยทอดไปติดต่อกับต่อมใต้สมองส่วนหน้าทางpitutary stalk
คุณสมบัติและหน้าที่ของไฮโพทาลามัส ไฮโพทาลามัส จะไม่ส่งสัญญาณจากเซลล์หนึ่งถึงอีกเซลล์หนึ่ง แต่หลั่งฮอร์โมนปลดปล่อยและฮอร์โมนยับยั้งออกมาตามแอกซอนไปสิ่้นสุดที่median eminence แพร่เข้าไปในหลอดเลือดฝอยออกไปสู่เซลล์ต่อมใต้สมองส่วนหน้ากระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน
ต่อมหมวกไต
ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง จึงเรียกว่าต่อมหมวกไต แต่ละต่อมประกอบด้วยเนื้อเยื่อ2ชั้นคือ
-
-
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ คอร์ติซอล เป็นออร์โมนที่จำเป็น ที่มีความสำคัญต่อชีวิต ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ซึ่งเป็นฮอร์โมนจำเป็นจะมีผลอย่างมากต่อเซลล์ร่างกาย
-อวัยวะเป้าหมาย:เซลล์ตับ
-หน้าที่:เพิ่มระดับน้ำตาลในกระแสเลือด โดยจะกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดไขมันและกรดอะมิโนบางตัวเป็นกลูโคส และเก็บสะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน แล้วจะเปลี่ยนจากไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเพื่อปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน ต่อมหมวกไตส่วนในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ต่มหมวกไตส่วนในเป็นทั้งต่อมไร้ท่อและเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทำงานเมื่อเผชิญหน้ากับภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและออกกำลังกาย สร้างออร์โมน2ชนิดคือ
ฮอร์โมนเอพิเนฟริน แหล่งที่สร้าง:ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา
อวัยวะเป้าหมาย:ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ
หน้าที่:
-หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆขยายตัว
-หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและช่องท้องหเตัว
ฮอร์โมนนอร์เอพิเพฟรีน แหล่งที่สร้าง:ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา
อวัยวะเป้าหมาย:ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ
หน้าที่:
-กระตุ้นหัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดลำเลียงออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น
-หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆหดหรือบีบตัว