Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตา (ต้อหิน (GLAUCOMA) :warning:, จอประสาทตาลอก ( Retinal Detachment ) …
ตา
ต้อหิน (GLAUCOMA) :warning:
ความหมาย
มีความผิดปกติของการไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงลูกตา
ความดันตากับต้อหิน
หมายถึง
ความดันของของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ภายในลูกตา โดยทั่วไปค่าความดันตาอยู่ที่ 5-22 มิลลิเมตรปรอทหากพบความดันตาสูงกว่า 22 มิลลิเมตรปรอทถือว่าเป็นภาวะความดันตาสูงและเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดต้อหิน
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 40 ปี
มีประวัติครอบครัวเป็นต้อหิน
ตรวจพบความดันตาสูง
ชนิดของต้อหิน
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ต้อหินปฐมภูมิ (Primary glacoma)
ต้อหินทุติยภูมิ (Secondary glacoma)
ต้อหินแต่กำเนิด (Congenital glacoma)
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์
แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
จอประสาทตาลอก ( Retinal Detachment ) :warning:
ความหมาย
อาการที่จอประสาทตาหรือชั้น เนื้อเยื่อบาง ๆ ที้อยู่ด้านหลังดวงตาแยกออกจากตำแหน่งเดิม
อาการของจอประสาทตาลอก
มองเห็นจุดดำลอยไปมา และมองเห็นวัตถุคล้ายหยากไย่
ตามัว
มีความสามารถในการมองเห็นด้านข้างลดลง
สาเหตุของจอประสาทตาลอก
จอประสาทตาลอกที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
อาการและอาการแสดง
มองเห็นแสงจุดดำหรือเส้นลอยไปลอยมา (floater)มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ (flashes oflight)
การพยาบาล
ระยะหลังผ่าตัด
ประเมินอาการเริ่มต้นของภาวะความดันลูกตาสูง
ดูแลให้ได้รับการวัดความดันลูกตาจากแพทย์หลังผ่าตัดประมาณ 4-6ชั่วโมง
กลับบ้าน
ทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาดๆเช็ดหน้าเบาๆเฉพาะข้างทีไม่ได้ผ่าตัด
ระยะก่อนผ่าตัด
ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
ต้อกระจก (Cataract) :warning:
ความหมาย
เป็นโรคที่เกิดจากเลนส์แก้วตาเสื่อมสภาพจนมีความขุ่นมัวเกิดขึ้น ทำให้บดบังแสงที่จะผ่านเข้าไปในตาแสงจึงส่งผ่านไปยังประสาทตาไม่เต็มที่
ทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนหรือมีอาการตามัวได้
สาเหตุ
การเสื่อมตามวัย
ความผิดปกติโดยกำเนิด
อาการและอาการแสดง
ตามัว/มองเห็นไม่ชัดเจนโดยเฉพาะเมื่ออยู่ในที่มีแสงสว่าง มองเห็นเกือบปกติในที่มืดสลัว
มองเห็นภาพซ้อน
มองเห็นแสงไฟกระจาย
โดยเฉพาะเวลาขณะขับรถในตอนกลางคืน
ชนิดการผ่าตัด
การสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
(phacoemulsification)
การผ่าตัดต้อกระจกและฝั่งเลนส์เทียมโดยใช้เลเซอร์ (femtosecond
laser)
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก
จัดท่านอนให้ผู้ป่วยไม่นอนทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด
การเคลื่อนย้ายต้องระวังกระทบดวงตาและศีรษะ
ห้ามเบ่งถ่ายอุจจาระ
ระวังอย่าให้น้ำกระเด็นเข้าตา
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา (Hyphema) :warning:
ความหมาย
เป็นอาการเลือดออกบริเวณส่วนหน้าของ
ดวงตาที่อยู่ระหว่างม่านตากับกระจกตา
อาการ
มีเลือดออกด้านหน้าของดวงตา
ปวดตา
ตาพร่ามัว หรือการมองเห็นแคบลง
สาเหตุ
การติดเชื้อที่ดวงตา
การบาดเจ็บจากวัตถุไม่มีคม
โรคเกี่ยวกับเลือด
การพยาบาล
เช็ดตาให้ผู้ป่วยทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้ง ประเมินว่ามีภาวะเลือดออกเพิ่ม ขึ้นหรือไม่
ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ ไม่ควรลุกจากเตียงประมาณ 3 – 5 วัน
ประกอบด้วย 3 ชั้น :warning:
ชั้นนอก
เปลือกลูกตา (Sclera)
กระจกตา (Cornea)
ชั้นกลาง มีหลอดเลือดจำนวนมาก
Ciliary body
Choroid
ม่านตา (Iris)
ชั้นใน
จอประสาทตา (Retina)
จากโรคเบาหวาน (DIABETIC
RETINOPATHY) :warning:
ปัจจัย
ความดันโลหิตสูง
โรคไขมันในเลือดสูง
การควบคุมระดับน้ำตาล
การตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ตามัว จากจอประสาทตาบวม หรือเลือดออกในวุ้นตา
การรักษา
การฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา
การผ่าตัดน้าวุ้นตา (Vitrectomy)
การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์ (PRP)
อุบัติเหตุทางตา (EYE injury) :warning:
อันตรายจากสารเคมี(chemical injury)
อาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
สายตาสู้แสงไม่ได้ (blepharospasm)
การรักษา
ล้างตาโดยเร็วที่สุด ด้วยน้ำสะอาดปริมาณมาก อาจมากกว่า 5 ลิตร
หากเกิดภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยาterramycin ointment
และปิดตาแน่น
การรักษาด้วยการใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
การพยาบาล
ล้างตาด้วยNormal saline หรือ sterilewater
ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามาก
การตรวจตา :warning:
อุปกรณ์
Otoscope
Opthalmoscope
ใช้เทคนิคการดู และ การคลำ
ลูกตา
ดูตำแหน่งลูกตา เปลือกตา ความชุ่มชื่น
ความนูนลูกตา
ตรวจภาวะตาโปน
ผู้ตรวจนอนเหนือศีรษะผู้รับบริการสังเกตุว่ามีอาการตาโปนหรือไม่ถ้ามีเปลือกตาบนไม่คลุมขอบตาดำตาขาวลอยเหนือตาดำ
ความหมาย :warning:
เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการมองเห็น