Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ - Coggle Diagram
ระบบหายใจ
การหายใจแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
การขนส่งแก๊ส
กระบวนการขนส่งออกซิเจนจากถุงลมไปยังหลอดเลือดฝอย
ขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์จากหลอดเลือดฝอยที่เซลล์ต่างๆ
การหายใจภายใน
กระบวนการใช้ออกซิเจนภายในไมโทคอนเดรีย
ออกซิเจนจะสันดาปกับอาหารเกิดพลังงานในรูปของฟอสเฟต
การหายใจภายนอก
การกำซาบเลือด
การระบายอากาศ
การแพร่
หน้าที่หลัก
การขนส่ง
กลไกการควบคุมการทำงานของระบบหายใจทั้งหมด
การแพร่
การระบายหรือการเคลื่อนที่ของอากาศ
ลักษณะของการหายใจ
การหายใจปกติ การหายใจ สลับกันอย่างมีจังหวะสม่ำเสมอ
การหายใจเพิ่มกว่าปกติ เป็นลักษณะที่หายใจลึกมากขึ้น
การหายใจเร็ว มีอัตราการหายใจสูงมากกว่า 100 ครั้ง นาที
การหายใจลำบาก การขยายตัวของปอดผิดปกติ
สภาวะผิดปกติของการหายใจ
ภาวะเลือดมีออกซิเจนต่ำ
ภาวะที่มีออกซิเจนระดับสูงเกินความพอเพียง
ภาวะที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดเพิ่มขึ้น
ภาวะที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดลดลง
อวัยวะ
ส่วนที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
ส่วนที่เป็นท่อทางเดินอากาศ
นำอากาศจากภายนอกเข้ามาในปอด เพิ่มความอุ่นและชื้นให้อากาศ
รายละเอียดของอวัยวะ
จมูก
เป็นทางผ่านของอากาศ
อากาศจะผ่านเข้าทางรูจมูกด้านในจมูกจะมีต่อมไขมัน
โพรงอากาศ
ถ้ามีการอักเสบของไซนัสหรือมีภูมิเเพ้เกิดขึ้นรูต่างๆจะอุดตันทำให้น้ำมูกไหล
มีเยื่อมูกที่บุโพรงอากาศ
คอหอย
คอหอยส่วนติดกับกล่องเสียง
คอหอยส่วนปาก
คอหอยส่วนจมูก
กล่องเสียง
ผนังของกล่องเสียงประกอบด้วยเเผ่นเยื่อบุผิวกระดูกอ่อน
เป็นทางผ่านของอากาศ
หลอดลมใหญ่
รูของหลอดอลมเปิดตลอดเวลา
มีรูปร่างเป็นท่อกลวงผนังประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ
ปอด
ช่องว่างระหว่างปอดทั้งสองข้างเป็นที่อยู่ของหัวใจ
ปอดวางอยู่ในทรวงอก มีลักษณะยืดหยุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน
ความเร็วของการไหลของอากาศ
ขนาดของทางเดินอากาศ
ความหนาแน่นหรือความหนืดของแก๊สที่ไช้หายใจ
ชนิดของกลไกควบคุมการหายใจ
ควบคุมการหายใจโดยระบบประสาท
การควบคุมการหายใจโดย refects
ควบคุมการทำงานสูญหายใจโดยสารเคมีในเลือด CO2 O2
โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการหายใจเข้า - ออก
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงชั้นนอก
กล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อกะบังลม
การควบคุมการหายใจ
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
ส่วนเปลือกสมองใหญ่และทาลามัส
ควบคุมให้เกิดการหายใจในระยะสั้นๆ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
กลุ่มเซลล์ประสาทที่ศูนย์หายใจในสมองส่วนเมดัลลาและพอนส์
ขณะหายใจเข้า
ความดันภายในปอดจึงลดลง
เกิดจากกล้ามเนื้อกะบังลมหดตัว
ขณะหายใจออก
กล้ามเนื้อกะบังลมหรือกล้ามเนื้อยึดระหว่างซี่โครงด้านนอกคลายตัว