Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
ไฮโพทาลามัส
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ประสาทหลายกลุ่ม
มีลักษณะเหมือนเซลล์ประสาททั่วไป มีเซลล์บอดีเดนไดรต์แอกชอน
เมื่อถูกกระตุ้นก็จะมีการเคลื่อนที่ของไอออนนาสัญญาณไฟฟ้า
คุณสมบัติและหน้าที่
หลั่งฮอร์โมนปลดปล่อยและฮอร์โมนยับยั้งออกมาตามแอกชอน
กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมนกระตุ้น
ฮอร์โมน
ควบคุมการสืบพันธุ์ มีบทบาทตั้งแต่การสร้างเชลล์เพศ
ควบคุมการเจริญเติบโต และพัฒนา
รักษาความสมดุล ของสิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ออกฤทธิ์เฉพาะต่อเซลล์เป้าหมาย
ส่วนหลัง
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ฮอร์โมนสองชนิด
วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน
ออกซิโทซิน
ต่อมหมวกไต
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
คอร์ติซอล (cortisol) เป็นฮอร์โมนที่จำเป็น
หน้าที่ เพิ่มระดับน้าตาลในกระแสเลือด
ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์จะมีผลอย่างมากต่เซลล์ร่างกาย
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน
ฮอร์โมนเอพิเนฟริน
หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆหดหรือบีบตัว
ฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน
กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น
ต่อมพาราไทรอยด์
การออกฤทธิ
ฮอร์โมนอินซูลิน
เกิดจากตับอ่อน
หน้าที่ของอินซูลิน
กระตุ้นให้เซลล์ตับ
:
ลดระดับน้าตาลในเลือด
การจาแนกต่อมไร้ท่อตามการออกฤทธิ์
ร่างกายขาดไม่ได้
ตับอ่อน
ให้ฮอร์โมนอินซูลินที่ควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือด
ถ้ามีน้อยอาจทาให้เลือดเกิดภาวะเป็นกรดทาให้เสียชีวิตได้
ต่อมพาราไทรอยด์
ให้ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ที่ควบคุมระดับแคลเซียมในกระแสเลือด
กี่ยวข้องกับกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
ต่อมไพเนียล
ต่อมไร้ท่อขนาดเล็กที่ผลิตสารเมลาโทนิน(Melatonin)
กระตุ้นการปรับเปลี่ยนระบบนาฬิกาชีวิตของร่างกาย
ต่อมไทมัส
ต่อมไร้ท่อด้านหน้าทรวงอกที่ผลิตสารไทโมซิน (Thymosin)
ต่อมหมวกไตชั้นใน
อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทซิมพาเทติก
ควบคุมปฏิกิริยาตอบสนองจากสิ่งเร้าภายนอก
ต่อมเพศ
ต่อมเพศ
อัณฑะในเพศชาย และรังไข่ในเพศหญิง
สร้างเซลล์สืบพันธุ์และสร้างฮอร์โมน
ต่อมไทรอยด์
การหลั่งฮอร์โมน
อยู่ภายใต้การควบคุมของฮอร์โมนที่ชื่อว่า TSH