Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock), กระตุ้นซิมพาเธติก - Coggle Diagram
ภาวะช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock)
พยาธิสภาพ
ลดปริมาณเลือดเข้าสู่หัวใจ
ลดปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
เพิ่มความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย
เพิ่มความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย
น้ำท่วมปอด
ขัดขวางการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ความดันเลือดลดลง
ลดปริมาณเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน (Hypoxia)
กรดแลคติค
กดการทำงานของหัวใจ
ลดความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ
เกิดขึ้นเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายจนไม่สามารถจะบีบเลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้พอเพียง (Cardiac output ลดลง ) และความดันเลือดจะลดลงตามมา สาเหตุใหญ่มักเนื่องมาจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ทำให้ความสามารถในการบีบเลือดออกมาลดลงซึ่งมักพบได้ถึง 15 % และระยะสุดท้ายของช็อคทุกชนิดก็จะต้องตามด้วยภาวะช็อคจากหัวใจตามกฎของ (Frank – Starling mechanism ) ถึงแม้ว่า Venous return และ stroke volume จะเพิ่มขึ้นแต่ปริมาตรของเลือดที่อยู่ในหัวใจ ทั้งก่อนและหลังการบีบตัว (end – diastolic and end-systolic) ก็จะสูงขึ้นด้วย
สาเหตุ
สาเหตุจากหัวใจเอง
กล้ามเนื้อหัวใจ เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน, กล้ามเนื้อหัวใจพิการ (cardiomyopathy), กล้ามเนื้อหัวใจถูกกดจาก septic shock
สาเหตุจากโครงสร้างของหัวใจผิดปกติ เช่น โรคของลิ้นหัวใจ, ผนังระหว่างหัวใจรั่ว
หัวใจเต้นผิดปกติ (arrhythmia)
สาเหตุภายนอกหัวใจ
หัวใจโดนกดจากเลือด, น้ำ หรือลมในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (cardiac tamponade) หรือจากเยื่อหุ้มหัวใจที่หนาตัวขึ้น (constrictive pericarditis)
ปอดมีพยาธิสภาพทำให้หัวใจปั๊มเลือดออกไปไม่ได้ เช่น pulmonary embolism, emphysema, bronchopneumonia, pulmonary hypertension อย่างรุนแรง
ให้น้ำหรือเลือดมากเกินไป
ภาวะท้าย ๆ ของ hypovolemic shock
เป็นภาวะช็อคที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปให้เนื้อเยื่อได้เพียงพอ
Pump failure ความผิดปกติจะเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
ลด Venous return (ลด Ventricular diastolic filling) ปริมาณเลือดที่เข้าสู่หัวใจกับระยะคลายตัวเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อปริมาณเลือดออกจากหัวใจ (CO) ดังนั้นสาเหตุใดก็ตามที่ทำให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้น้อยลงก็จะทำให้เกิด Cardiogenic shock ได้
อาการ
มักเกิดในผู้ป่วยหัวใจขาดเลือดรุนแรง โดยผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดหัวใจขาดเลือดอาจมีสัญญาณที่บ่งบอก เช่น รู้สึกปวดบีบ แน่น หรือรู้สึกเหมือนถูกกดทับบริเวณกลางหน้าอก ซึ่งจะมีอาการคงอยู่นานกว่า 2-3 นาที ความรู้สึกเจ็บปวดอาจลามไปยังไหล่ แขนข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
มีอาการวิตกกังวลและสับสน มือเท้าเย็น ผิวซีดลง มีเหงื่อออก หัวใจเต้นเร็วแต่ชีพจรเต้นเบา หายใจเร็ว หายใจถี่และสั้น
การวินิจฉัย
การเอกซเรย์ทรวงอก เพื่อให้แพทย์สามารถวินิจฉัยรายละเอียด เช่น ขนาดและรูปร่างของหัวใจ
-การวัดความดันโลหิต โดยผู้ป่วยที่มีอาการ Cardiogenic Shock มักจะมีความดันโลหิตต่ำ
-การตรวจเลือด
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG/EKG)
-การทำเอคโคหัวใจ (Echocardiogram)
ภาวะแทรกซ้อน
หากอาการ Cardiogenic Shock รุนแรงและไม่ได้รับการรักษา อวัยวะภายในของผู้ป่วยจะไม่ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอจากเลือดที่ไหลเวียนในร่างกาย และทำให้อวัยวะนั้น ๆ ได้รับความเสียหายชั่วคราวหรือถาวรได้ เช่น สมองถูกทำลาย
กระตุ้นซิมพาเธติก
หัวใจบีบตัวเร็ว