Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ - Coggle…
ปัญหาสุขภาพของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การพยาบาล
ผู้ป่วยเบาหวาน
พยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลง metabolism
การหนาของ Basemant mambraneใน Tissue
การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดใหญ่
ความเปลี่ยนแปลงการไหลเวียน
ของเลือดผ่านหลอดเลือดฝอย
การเกิดที่เลนส์ตา
การเปลี่ยนแปลงของ
Macroangiopathy
มีการทำลายเยื่อบุชั้นใน
ของหลอดเลือดทำให้
มีภาวะไขมันในเลือดสูง
มีการขยายตัวของหลอดเลือดดำ
หลอดเลือดแดงขนาดเล็กๆแข็งตัว
เกณฑ์การคัดกรอง
ประชากรกลุ่มเสี่ยง
อายุ 35 ปีขึ้นไป
มีปัจจัยเสี่ยง 1 อย่างขึ้นไป
Impaired fasting glucose สูงกว่าปกติ
Triglyceride > 200 mg/dl
BP > 140/90 mmHg
HDL ชาย < 40 mg/dl,หญิง < 50 mg/dl
มีญาติลำดับแรกเป็น DM
หญิงมีประวัติมีเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
อ้วน BMI > 25 หรืออ้วนลงพุง
ชนิดของ
เบาหวาน
ชนิดพึ่งอินซูลิน
รักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
มักพบในเด็ก
ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน
รักษาด้วยการกินยา
มักพบในผู้ใหญ่
การรักษา DM
ออกกำลังกาย
เพิ่มประสิทธิภาพของอินซูลิน
ต่อเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย
เพิ่มอัตรากำจัดกลูโคส
จากกระแสเลือดโดยตับ
ลดอัตราการสร้างกลูโคสจากตับ
ลดความเครียด เพิ่มระดับ endophin
อาหาร
CHO เน้นที่มี Fiber สูง เช่น เม็ดแมงลัก ฝรั่ง
ไม่ควรรับประทานอาหารที่มี Gl
Protein ร้อยละ 12-15,Fat ร้อยละ 25-35
การใช้ยา
การให้สารน้ำ
การให้ Potassium
การรักษาด้วยอินซูลินจะทำให้โพแทสเซียมต่ำ
จึงควรให้ทดแทนหลังจากการประเมินว่า
มีปัสสาวะออกเพียงพอ
เพื่อเป็นการทดแทน intravascular
และ extravascular volume
ยาฉีด Insulin
ออกฤทธิ์ยาว ลักษณะน้ำขุ่น
ภาวะแทรกซ้อน
จากการฉีดอินซูลิน
ไขมันบริเวณที่ฉีดฝ่อเป็นรอยบุ๋ม
การเกิดเป็นไตนูนแข็ง
การแพ้อินซูลิน
การดื้อต่ออินซูลิน
ออกฤทธิ์ปานกลาง ลักษณะน้ำขุ่น
ภาวะฉุกเฉินที่เกิดจาก
น้ำตาลในเลือดสูง
Diabetic Ketoacidosis
Hyperosmolar
Hyperglycemic non Ktotic
ออกฤทธิ์สั้น ลักษณะน้ำใส
ยาเม็ดลดน้ำตาล
มี 2 กลุ่ม
Sulphonylurea
Biquanides
การป้องกันภาวะแทรก
ซ้อนเรื้อรังของ DM
ควบคุมไขมันในเลือด LDL<100 mg/dl
BP ไม่เกิน 130/80 mmHg
งดสูบบุหรี่
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
ภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ความบกพร่องของ
การหลั่งอินซูลิน
การวินิจฉัยโรค DM
Random plasma glucose
Fasting plasma glucose/
Fasting blood sugar
Oral glucose
tolerance test
งดอาหารข้ามคืน
ตรวจหาระดับน้ำตาล
ในเลือดครั้งแรก
กินอาหารตามปกติ
ปัจจัยเสี่ยง
ขาดการออกกำลังกาย
กินอาหารที่มีโภชนาการเกิน
ผู้ที่มีภาวะเครียด
มีระดับน้ำตาลใน
เลือดสูงกว่าคนปกติ
ผู้ที่มีภาวะ Beta Cell
ของตับอ่อนถูกทำลาย
ประเภท
ของ DM
เกิดจากภาวะดื้ออินซูลินร่วมกับ
ความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับอ่อน
เบาหวานที่ตรวจพบขณะตั้งครรภ์
เบาหวานชนิดอื่นๆจาก
สาเหตุต่างๆ เช่น ยา สารเคมี
เกิดจากการทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อน
การทำงานของ
ระบบประสาทผิดปกติ
ความผิดปกติของ
ระบบประสาท
ส่วนปลาย
การขาดเลือดไปเลี้ยง
มีอาการบวมของเส้นประสาท
อาการและ
อาการแสดง
ปัสสาวะมาก
ดื่มน้ำมาก
กินจุ
น้ำหนักลด
รับสัญญาณประสาทได้ช้ากว่าปกติ
ความหมาย
ของ DM
โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทาง
metabolism ของ carbohydrate
ทำให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูง
การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีความผิดปกติ
ของต่อมไทรอยด์
ลักษณะของ
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์มี 2 กลีบ
อยู่ที่คอใต้ลูกกระเดือก
ทำหน้าที่สร้างและหลัง
Thyroid hormone
ต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย
อยู่ส่วนหน้าของลำคอ
หน้าที่ของ
Thyroid hormone
ระดับไขมันในเลือด
อารมณ์และความรู้สึก
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การหลังเข้าสู่ระบบไหลเวียน
จะต้องเปลี่ยนรูปเป็น T3 ก่อน
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
T3 เป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุม
อัตราการเผาผลาญของร่างกาย
ควบคุมการเผาผลาญของร่างกาย
Calcitonin มีผลต่อกระดูก
ทำให้เกิดความแข็งแรง
กระตุ้นเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย
ให้ทำงานเป็นปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจ
ร่างกาย
ความผิดปกติของผิวหนัง
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
graves disease ต่อมจะโตทั้งต่อม
ความผิดปกติของตา การมองเห็น
ทำต่อมไทรอยด์
การตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดพบว่าค่า T3 หรือ T4 สูงและค่า TSH ต่ำ
เพื่อดูสภาพต่อมไทรอยด์หรือก้อนในต่อมไทรอยด์
การซัก
ประวัติ
มีการเปลี่ยนแปลงที่ตาและการมองเห็น
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของหัวใจ
การทำงานเพิ่มของ Sympathetic N
การเปลี่ยนแปลงบุคลิกเช่น หงุดหงิดง่าย
ความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
ความผิดปกติของ
ต่อมไทรอยด์
ความบกพร่องในการสร้าง
หรือการหลั่งThyroid hormone
ของต่อมไทรอยด์
แบ่งเป็น 3 ประเภท
ต่อมไทรอยด์ทํา
หน้าที่น้อยเกินไป
Hypothyroidism
พยาธิสภาพ
การเผาผลาญ
ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
ระบบหายใจ หายใจเบาตื้น
การบวม เช่น บวมรอบตา หน้าบวมฉุ
ลิ้นโตคับปาก เสียงแหบ
ระบบประสาท
สมองทำงานช้าลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เกิดอาการเหนื่อยง่ายเมื่อออกกำลัง
สาเหตุ
ได้รับสาร goitrogen
หลังผ่าตัดต่อมไทรอยด์เพื่อรักษาภาวะ hyperthyroid
การขาดสารไอโอดีน
เนื้องอกที่ต่อม pituitary ทำให้การหลั่งฮอร์โมนไม่เพียงพอ
ความผิดปกติของ hypothalamus ทำให้สร้าง TRF ไม่พอ
ภาวะที่มีระดับไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำกว่าปกติ
เป็นผลให้เนื้อเยื่อได้รับฮอร์โมนไทรอยด์น้อย
ต่อมไทรอยด์ทํา
หน้าที่มากเกินไป
ภาวะต่อมไทรอยด์
ทํางานเกิน
อาการเจ็บป่วยเนื่องจากภาวะ
มีฮอร์โมนไทรอยด์มากเกิน
เกิดภาวะพิษจากไทรอยด์
เรียกว่าคอพอกเป็นพิษ
ต่อมไทรอยด์มีการหลั่งฮอร์โมน
มากเกินปกติ กระตุ้นให้ร่างกาย
เผาผลาญสูงกว่าปกติ
ภาวะพิษจากไทรอยพบบ่อย
ในหญิงมากกว่าชาย 5-10 เท่า
สาเหตุ
โรคเกรฟส์
Autoimmune disease มีการ
สร้างสารภูมิต้านทานต่อไทรอยด์
thyroid stimulating immunoglobulin
จะไปจับปรับตัวรับฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์
มีต่อมไทรอยด์โต
ลักษณะแบบกระจาย
สาเหตุของการเกิดโรคยังไม่ทราบแน่ชัด
ผู้ที่เป็นโรคเกรฟส์พบว่ามีความเสี่ยง
ต่อการเกิดภูมิต้านทานกันเอง
ความเครียดมีส่วนกระตุ้นให้โรคกำเริบ
พบร้อยละ 60-80
หญิงมากกว่าชาย 5-10 เท่า
โรคพลัมเมอร์
มีอาการคอพอก
ลักษณะโตเป็นปุ่มหลายปุ่ม
มีการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์
นอกเหนือการควบคุมของต่อมใต้สมอง
พบมากในคนอายุมากกว่า 40 ปี
ความรุนแรงน้อยกว่า graves disease
เนื้องอกไทรอยด์
ชนิดพิเศษ
พบน้อยกว่าชนิดที่ 1,2
ต่อมไทรอยด์มีลักษณะโต
เป็นก้อนเนื้องอกเดียว
มีการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์
นอกเหนือการควบคุมของต่อมใต้สมอง
ต่อมไทรอยด์อักเสบ
ระยะแรก เนื้อเยื่อที่อักเสบจะมีการปล่อย
ฮอร์โมนไทรอยด์ที่สะสมอยู่ในต่อมไทรอยด์
มักเป็นระยะหนึ่งหลังจากนั้นอาจมี
ภาวะขาดไทรอยด์อย่างถาวรตามมา
จะมีการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์มาก
ในขณะที่มีการอักเสบของต่อม
สาเหตุอื่นๆ
ที่พบได้น้อย
เนื้องอกรังไข่
ครรภ์ไข่ปลาอุก
การใช้ฮอร์โมนไทรอยด์
ขนาดสูงในการบำบัดโรค
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
เนื้องอกต่อมใต้สมอง
การได้รับสารไอโอดีนมากเกินไป
อาการ
มักมีลักษณะอยู่ไม่สุข ชอบทำโน่นทำนี่
บางรายอาจมีอาการถ่ายเหลว
น้ำหนักตัวลดลงรวดเร็ว โดยกินได้ปกติ
บางรายอาจมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มันขี้ร้อน ชอบอากาศเย็น เหงื่อออกง่าย
บางรายมีประจำเดือนน้อย ไม่สม่ำเสมอ
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ต่อมไทรอยด์โต
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์
มีขนาดโตกว่าปกติ
ความผิดปกติ
พบได้ 3 ลักษณะ
เนื้องอกของ
ต่อมไทรอยด์
เนื้องอกต่อมไทรอยด์
ชนิดธรรมดา
มีอาการปวดและมีก้อนโตเร็ว
จากการมีเลือดออกภายในก้อนมาก
เนื้องอกจะจับกับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน
เป็นเนื้องอกที่พบมากที่สุดของต่อมไร้ท่อ
มะเร็งต่อมไทรอยด์
จะไม่จับกับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน
การรักษาคือการผ่าตัด
ต่อมไทรอยด์จะโตมีก้อนแข็งไม่เจ็บ
โรคคอพอก
Pituitary gl.หลั่ง TSH ไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่ง
Thyroxine เพิ่มขึ้น เป็นผลให้ต่อมไทรอยด์โต
ต่อมไทรอยด์โต จนกดหลอดลมและ
หลอดอาหาร ทำให้หายใจลำบากได้
เกิดจากการสร้างฮอร์โมน
จากต่อมไทรอยด์ถูกปลด
คอพอกชนิดท้องถิ่น เกิดจากขาดสารไอโอดีน
คอพอกชนิดไม่จำกัดท้องถิ่น
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม
การรักษา
เพื่อหยุดการเจริญเติบโตของ
ต่อมไทรอยด์และทำให้ยุบลง
การสร้างฮอร์โมน
ไทรอกซินลดลง
Lugol's solution
Saturated solution
of potassium iodide
Thyroiditis
มักเกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
อาการ:ไข้ อ่อนเพลีย บวมที่ต่อมไทรอยด์
การอักเสบของต่อมไทรอยด์
การรักษา
การผ่าตัด
การกินแร่ไอโอดีน
กัมมันตภาพรังสี
การรับประทานยา