Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหาคุณภาพอากาศ, นางสาวอัจฉรา กาฬปักษี…
การจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหาคุณภาพอากาศ
มลพิษทางอากาศ
PM - 10
เกิดจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล ฝุ่นละอองแขวนลอยคงค้างในถนน การก่อสร้าง และอุตสาหกรรม
มีขนาดเล็กทำให้ผุ่นสามารถแทรกตัว
เข้าไปในปอดได้
SO2
การเผาไหม้ของถ่านหินและน้ำมัน อุตสาหกรรมบางประเภท
ทำให้เป็นโรคหอบหืด ปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และทำให้เกิดฝนกรด
สารตะกั่ว
การเผาไหม้ของ alkyl lead ในน้ำมันเบนซิน
ส่งผลทาลายสมองไต โลหิต ระบบประสาทส่วนกลางและระบบสืบพันธุ์
CO
เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันที่ไม่สมบูรณ์
ส่งผลต่อโรงหัวใจและหลอดเลือด หากได้รับมากอาจเกิดอันตรายต่อชีวิต
NO
เกิดจากการเผาไหม้ฟอสซิล
ทำให้เกิดฝุ่นละออง ส่งผลต่อทางเดินหายใจ
O3
เกิดจากสารประกอบอินทรีย์และไนโตรเจนออกไซด์
ทำให้ความระคายเคืองต่อสายตาจมูกคอ ทรวงอก หรือมี
อาการไอ ปวดหัว
ผลกระทบต่อสุขภาพ
โรคระบบทางเดินหายใจและโรคภูมิแพ้อากาศ
ฝุ่นละอองที่ไม่สามารถขจัดออกมาได้จะสะสมในเน้ือเยื่อปอด ทำให้เกิน โรคปอดแข็งจากภาวะฝุ่นจับปอด(pneumoconiosis)
ทำให้เกิดโรคปอดเรื้อรัง จนถึงมะเร็งปอด
กลุ่มอาการป่วยเหตุจากอาคาร (Sick building syndromes: SBS)
เกิดจากคาร์บอนมอนอกไซด์จากการหุงต้มในครัวเรือน พิษของสารเคมีประเภทโอโซน สารประกอบอินทรีย์ระเหย จากเฟอร์นิเจอร์
มักตรวจไม่พบความผิดปกติแต่จะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน
โรคลีเจียนแนร์จากเชื้อแบคทีเรียลีจิโอเนลลานิวโมฟิวลา (Legionella
pneumophila)
ปนเปื้อนมากับน้า หล่อเย็นของระบบปรับอากาศ
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
หลีกเลี่ยงการเผาวัสดุต่าง ๆ เช่น ซากวัสดุจากซากพืชผักทางเกษตรกรรม และขยะมูลฝอย
ไม่เร่งเครื่องรถยนต์ขณะวิ่ง และไม่ติดเครื่องรถยนต์ขณะจอด
พ่นน้าหรือทำความสะอาดลานบ้าน ถนนสาธารณะแทนการกวาด
หลีกเลี่ยงการเพิ่มมลพิษในอากาศ
กำหนดมาตรฐานการควบคุมโรงงานอุสาหกรรมในการปล่อยมลพิษแหล่งกำเนิดสู่บรรยากาศ
ประชาชนควรให้ความสนใจ และแจ้งแหล่งของมลพิษในหน่วยงานที่รับผิดชอบทราบ สร้างความตระหนักมลพิษทางอากาศส่งผลเสียต่อคนทุกคน
ขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
รวบรวม บำบัด และจำกัดมลพิษ ทางอากาศ จากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เพื่อป้องกันและควบคุมไม่ให้สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่บรรยากาศในปริมาณมากจนก่อให้เกิดพิษภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
บทบาทของพยาบาลชุมชนในการจัดการปัญหา
การป้องกัน
ระดับปฐมภูมิ
มุ่งเน้นที่จะกำจัดหรือลดสาเหตุหรือลดปัจจัยที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเสียสมดุลย์ รณรงค์ให้ประชาชนใช้วัตถุดิบที่ไม่มีสารก่อมลพิษ
ระดับทุติยภูมิ
ลดความรุนแรงของการเสียสมดุลย์และลดผลกระทบต่อสุขภาพ
ระดับตติยภูมิ
ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้กลับมามีดุลย์ภาพเหมือนเดิมหรือใกล้เคียงเดิมมากที่สุด โดยพยาบาลเป็นผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา เป็นผู้ร่วมงาน และเป็นผู้วิจัย
การปกป้องคุ้มครอง
ด้วยการใช้มาตรการทางกฎหมายหรือมาตรการทางสังคม
เป็นผู้พิทกัษสิทธ์ให้ประชาชนในการให้ข้อมูลการเจ็บป่วยจากผลกระทบสิ่งแวดล้อม
เฝ้าระวังการทำลายหรือทิ้งของเสีย
การควบคุม
มีการกาจัดองค์ป้องกันสิ่งแวดล้อมที่เป็นอัน ตรายหรือก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ
การใช้สารทดแทนสารพิษ
นางสาวอัจฉรา กาฬปักษี รหัสนักศึกษา 601341