Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21, นางสาวสุภานี ศรีสมุทร รหัสนักศึกษา 624149023…
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Thinking Skill
การคิดเชิงระบบ (System thinking)
การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative thinking)
การคิดเชิงบวก (Positive thinking)
การคิดเปรียบเทียบ (comparative thinking)
การคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual thinking)
การคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking)
การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking)
การคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking)
Learning Theory
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories)
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory)
ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory)
ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories)
กลุ่มทฤษฎีของ Edward C. Tolman
กลุ่มทฤษฎีของ Jerome S. Bruner
กลุ่มทฤษฎีของ Gastalt
Active Learning
. แบบเน้นปัญหา/โครงงาน/กรณีศึกษา (Problem/Project-based Learning/Case Study)
แบบใช้เกม (Games-based Learning)
แบบระดมสมอง (Brainstorming)
แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing)
แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think – Pair – Share)
แบบสะท้อนความคิด (Student’s Reflection)
เป็นวิธีการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฎิสัมพันธุ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฎิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิด และการทำกรณีศึกษาเป็นต้น
แบบตั้งคำถาม (Questioning-based Learning)
Child Center
วิธีสอนแบบหน่วย
การสอนแบบศูนย์การเรียน
วิธีการสอนแบบโครงการ
วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรม
วิธีการสอนแบบจุลภาค
บทเรียนโมดูล
วิธีการสอนแบบอภิปราย
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
วิธีการสอนแบบทดลอง
การสอนซ่อมเสริม
วิธีสอนตามขั้นที่ 4 ของอริยสัจ
หมวกแห่งความคิด
วิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์(Scientific Method)
การสอนแบบ 4 MAT
วิธีการสอนแบบแสดงบทบาท
แผนการสอนแบบ CIPPA
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา(Problem-Solving Method)
การสอนแบบ (Story line)
Constructivism
การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทำ (Active learning)
การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Collaborative learning)
การเรียนรู้เป็นผลที่เกิดจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน
การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated learning)
การสร้างการเรียนรู้ (Learning constructed)
Classroom Management
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน
บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom)
บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect)
บรรยากาศแห่งความสำเร็จ (Success)
บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth)
บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge)
บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control)
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้ำหนัก จำนวน สีของสื่อและเครื่องเล่น
บรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดที่เล่นและมุมประสบการณ์ต่างๆ
ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน ห้องน้ำห้องส้วม สนามเด็กเล่น ฯลฯ
ความสะดวกในการทำกิจกรรม
ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
ความสะอาด ความปลอดภัย
Digital Technology
เข้าใจ (Understand)
การสร้าง (create)
การใช้ (Use)
เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ ๔ มิติ
นางสาวสุภานี ศรีสมุทร รหัสนักศึกษา 624149023 หมู่เรียน 62/16